• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

5 เกณฑ์ ภาคธุรกิจปรับตัวตอบโจทย์ผู้บริโภค ปี 65

Started by Jenny937, October 10, 2021, 02:48:29 PM

Previous topic - Next topic

Jenny937

นักวิชาการ วิทยาลับการจัดการ มหิดล แนะ "5 Foresight of New Consumer" ภาคธุรกิจ บริหารการตลาดให้ตรงใจพฤติกรรมผู้บริโภคยุคใหม่ ที่เติบโตมากับโลกดิจิทัล

ผศ. ดร.บุญยิ่ง คงอาชาภัทร หัวหน้าสาขาการตลาด วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ในช่วง 5-10 ปีที่ผ่านมา เราเห็นกระแสของ Digital Disruption เข้ามามีบทบาทต่อการเปลี่ยนรูปแบบการทำงานและการใช้ชีวิตอยู่แล้ว แต่ว่าอิทธิพลอาจยังมีไม่มากนักต่อคนเจเนอเรชันต่างๆ ยกเว้นคนยุคใหม่ที่ถือเป็น Digital Citizens เติบโตมากับโลกดิจิทัลอยู่แล้ว แต่จากสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นในช่วง 2 ปีนี้ นับเป็นตัวเร่งขับเคลื่อนให้ดิจิทัลเข้ามาอยู่ในชีวิตผู้คนทุกวัยรวดเร็วอย่างมาก ทั้งส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมผู้คนให้มีความกังวลด้านสุขภาพมากขึ้น 

ผศ. ดร.บุญยิ่ง คงอาชาภัทร หัวหน้าสาขาการตลาด วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ผศ. ดร.บุญยิ่ง คงอาชาภัทร หัวหน้าสาขาการตลาด วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

ขณะเดียวกันก็มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจบางส่วน เช่น กลุ่มธุรกิจการท่องเที่ยว การบริการ และสายสาธารณสุข เหล่านี้ทำให้เกิด New Consumer หรือผู้บริโภคมีพฤติกรรมใหม่ ที่เกิดจากการเรียนรู้ด้านดิจิทัลมากขึ้นด้วยการบีบรัดของสถานการณ์ดังกล่าว โดยมีพฤติกรรมผสมผสานระหว่างโลกออฟไลน์กับออนไลน์ ชอบทั้งทำกิจกรรมนอกบ้าน และยินดีที่จะทำกิจกรรมอยู่ที่บ้าน


จากปัจจัยดังกล่าว ส่งผลให้คาดการณ์ภาพของพฤติกรรมผู้บริโภคที่จะเปลี่ยนไป โดยแนะหลักการ "Foresight" 5 ข้อต่อภาคธุรกิจ ดังนี้ 

การซื้อสินค้า/บริการแบบสบายไร้ความยุ่งยาก (Frictionless shopping) เมื่อผู้บริโภคมีความเคยชินกับการสั่งอาหาร สั่งซื้อสินค้าผ่านมือถือ และเริ่มมองว่า ไม่มีเหตุผลที่จะต้องเสียเวลารอต่อคิว หรือวนรถหาที่จอดรถในห้างฯ แล้ว ชีวิตต้องง่าย ทุกอย่างจบได้ที่ปลายนิ้วผ่านโทรศัพท์มือถือ ดังนั้น เจ้าของธุรกิจต้องทำให้ร้านค้าตนเองง่ายต่อการเข้าถึงและสั่งซื้อมีบริการ สั่งง่าย ส่งง่าย มีจุด Drive-thru หรือเดลิเวอรี่ มีช่องทางการสั่งซื้อ เช่น E-Commerce หรือ Social Commerce ให้ลูกค้าค้นเจอง่ายและสั่งจองได้ไม่ยุ่งยาก 

การตลาดที่สร้างยิ้มผู้บริโภค (Entertaining Life) ผู้คนส่วนใหญ่ยังต้องการความบันเทิงในชีวิต เห็นได้จากอินฟลูเอนเซอร์ที่เน้นความสนุกสนานขำขัน จะมีผู้ติดตามมากมายหลายล้านคนหรือ ads ที่ตลกก็สร้างการจดจำได้ดีกว่าโฆษณาทั่ว ๆ ไป ดังนั้น ธุรกิจ/แบรนด์ต้องรู้จักหยิบความขบขันและความสนุกมาใส่ในการสื่อสารสินค้า หรือจัดกิจกรรมไลฟ์สดให้ผู้บริโภคมีส่วนร่วม มากกว่าการเน้นพูดถึงแต่คุณภาพของสินค้าเช่นเดิม

รู้จักและรู้ใจลูกค้าด้วยข้อมูล (Data-driven consumer) ผู้บริโภคมีความคาดหวังจากธุรกิจ/แบรนด์สูงขึ้นว่าต้องรู้ใจ รู้ความต้องการ เพราะในโลกดิจิทัล แบรนด์สามารถเก็บข้อมูลและรู้จักลูกค้ามาก ยกตัวอย่าง แอปพลิเคชัน Amazon, Netflix มีการนำข้อมูลของลูกค้ามาทำ Recommendation ที่แสดงข้อมูลแนะนำให้สอดคล้องกับความสนใจของลูกค้า เป็นต้น ดังนั้น แบรนด์ต่างๆ จึงถูกคาดหวังว่าจะสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลลูกค้านั้นเช่นเดียวกัน 

4. ข้อมูลจากผู้ใช้จริงมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ (Community Dependent) การเน้นสื่อสารจากแบรนด์โดยตรงอาจไม่เพียงพอและเน้นใช้สร้างการรับรู้เท่านั้น ลูกค้าในปัจจุบันจะตัดสินใจซื้อโดยพิจารณาข้อมูลจากการรีวิวของผู้ใช้จริง หรือถ้าเป็น KOLs ก็ต้องมีความจริงใจมีความน่าเชื่อถือจริงๆ 

5.  สร้างความเชื่อใจที่จริงจัง (Brands We Trust) ท่ามกลางตัวเลือกสินค้าหรือบริการที่มีมากมาย แบรนด์ต้องสร้างความเชื่อถือไว้วางใจให้ผู้บริโภคเชื่อมั่น ตอบโจทย์มาตรฐานชีวิตที่สูงขึ้น เน้นความปลอดภัยสุขอนามัยและดีต่อผู้บริโภคและสังคมอย่างจริงจัง เกิดเป็นจุดเน้นที่สำคัญต่อการสร้างภาพลักษณ์แบรนด์ที่มีเป้าหมายหรือ Purpose ที่ชัดเจนในอนาคตต่อไป