• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

กทม. ฉีดวัคซีนโควิด-19 เข็มแรกกว่า 98.5% ไทยฉีดวัคซีนแล้ว 47 ล้านโดส

Started by Beer625, September 25, 2021, 02:39:29 PM

Previous topic - Next topic

Beer625



อว. เผยไทยฉีดวัคซีนโควิด-19 แล้ว 47,296,431 โดส และทั่วโลกแล้ว 6,069 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง ส่วนอาเซียนฉีดแล้วทุกประเทศ รวมกันกว่า 348.13 ล้านโดส โดยจังหวัดของไทยที่ฉีดมากที่สุด คือ กรุงเทพฯ โดยฉีดวัคซีนเข็มแรกกว่า 98.5%

เมื่อวันที่ 24 ก.ย. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยข้อมูลสถิติการฉีดวัคซีนโควิด-19 ทั่วโลกแล้ว 6,069 ล้านโดส ใน 205 ประเทศ/เขตปกครอง โดยขณะนี้อัตราการฉีดล่าสุดรวมกันทั่วโลกที่ 32.3 ล้านโดสต่อวัน และมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สหรัฐอเมริกามีจำนวนการฉีดวัคซีนสูงที่สุดที่ 388 ล้านโดส โดยมีชาวอเมริกันกว่า 183 ล้านคนได้รับวัคซีนครบ 2 โดสแล้ว

ด้านอาเซียนขณะนี้ทุกประเทศได้ฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แล้ว มียอดรวมกันที่ประมาณ 348.13 ล้านโดส โดยสิงคโปร์ฉีดวัคซีนในสัดส่วนประชากรมากที่สุดในภูมิภาค (77.8% ของประชากร) ในขณะที่อินโดนีเซียฉีดวัคซีนในจำนวนมากที่สุดที่ 131.45 ล้านโดส สำหรับประเทศไทยข้อมูล ณ วันที่ 24 กันยายน 2564 ได้ฉีดวัคซีนแล้วกว่า 47,296,431 โดส โดยฉีดให้กับประชาชนมากที่สุดในสัดส่วนกว่า 58.74%

ในการฉีดวัคซีน จำนวน 6,069 ล้านโดสนี้ อว. ขอรายงานสถิติที่สำคัญ คือ

1. ข้อมูลการฉีดวัคซีนล่าสุดของประเทศไทย ณ วันที่ 24 กันยายน 2564
จำนวนการฉีดวัคซีนสะสม 47,296,431 คน ใน 77 จังหวัด แบ่งเป็น
-เข็มแรก 29,998,440 โดส (45.3% ของประชากร)
-เข็มสอง 16,673,867 โดส (25.2% ของประชากร)
-เข็มสาม 624,124 โดส (0.9% ของประชากร)

2. อัตราการฉีดวัคซีนตั้งแต่ 28 ก.พ.- 24 ก.ย. 64 พบว่า ประเทศไทยฉีดวัคซีนแล้ว 47,296,431 โดส ฉีดเพิ่มขึ้น 626,896 โดส (อัตราการฉีดล่าสุดเฉลี่ย 3 วันย้อนหลัง ตั้งแต่วันที่ 7 มิ.ย. 64 ซึ่งเป็นการฉีดวัคซีนวาระแห่งชาติ 564,904 โดส/วัน

3. อัตราการฉีดวัคซีน ประกอบด้วย
วัคซีน Sinovac
- เข็มที่ 1 14,749,781 โดส
- เข็มที่ 2 3,501,863 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส

วัคซีน AstraZeneca
- เข็มที่ 1 10,240,852 โดส
- เข็มที่ 2 10,229,486 โดส
- เข็มที่ 3 220,340 โดส

วัคซีน Sinopharm
- เข็มที่ 1 4,583,535 โดส
- เข็มที่ 2 2,468,012 โดส
- เข็มที่ 3 0 โดส

วัคซีน Pfizer
- เข็มที่ 1 424,272 โดส
- เข็มที่ 2 474,506 โดส
- เข็มที่ 3 403,784 โดส

4. การฉีดวัคซีนโควิด-19 แยกตามกลุ่มเป้าหมาย
- บุคลากรการแพทย์/สาธารณสุข เข็มที่1 124.3% เข็มที่2 116.9% เข็มที่3 87.7%
- เจ้าหน้าที่ด่านหน้า เข็มที่1 60.5% เข็มที่2 47.1% เข็มที่3 0%
- อสม เข็มที่1 71.1% เข็มที่2 52.2% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค เข็มที่1 55.2% เข็มที่1 28.9% เข็มที่3 0%
- ประชาชนทั่วไป เข็มที่1 61.5% เข็มที่2 32.5% เข็มที่3 0%
- ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป เข็มที่1 55.6% เข็มที่2 29.7% เข็มที่3 0%
- หญิงตั้งครรภ์ เข็มที่1 12.6% เข็มที่2 7.1% เข็มที่3 0%
รวม เข็มที่1 60% เข็มที่2 33.3% เข็มที่3 1.2%

5. จังหวัดที่ฉีดวัคซีน เข็มที่ 1 และเข็มที่ 2 แบ่งเป็น 2 ชุดข้อมูล
กรุงเทพฯ และปริมณฑล เข็มที่1 77.3% เข็มที่2 38% เข็มที่3 1.3% ประกอบด้วย
- กรุงเทพฯ เข็มที่1 98.5% เข็มที่2 45% เข็มที่3 1.9%
- สมุทรสาคร เข็มที่1 60.9% เข็มที่2 31.5% เข็มที่3 0.6%
- นนทบุรี เข็มที่1 61.1% เข็มที่2 32.1% เข็มที่3 0.7%
- สมุทรปราการ เข็มที่1 57.6% เข็มที่2 34.2% เข็มที่3 0.6%
- ปทุมธานี เข็มที่1 49.1% เข็มที่2 31.7% เข็มที่3 0.8%
- นครปฐม เข็มที่1 39.2% เข็มที่2 21.3% เข็มที่3 0.7%

จังหวัดอื่น ๆ 71 จังหวัด เข็มที่1 32.4% เข็มที่2 19.3% เข็มที่3 0.7%
- ฉะเชิงเทรา เข็มที่1 62.5% เข็มที่2 29.9% เข็มที่3 0.6%
- ชลบุรี เข็มที่1 61.3% เข็มที่2 32.2% เข็มที่3 1%
- พระนครศรีอยุธยา เข็มที่1 51% เข็มที่2 27.5% เข็มที่3 0.5%
- เพชรบุรี เข็มที่1 45% เข็มที่2 30% เข็มที่3 0.8%
- ยะลา เข็มที่1 44.5% เข็มที่2 21.9% เข็มที่3 0.7%
- สงขลา เข็มที่1 38.8% เข็มที่2 23.7% เข็มที่3 1.2%

6. ในภูมิภาคอาเซียน ได้ฉีดวัคซีนแล้วครบ 10 ประเทศ รวมจำนวน 348,133,639 โดส ได้แก่
1. อินโดนีเซีย จำนวน 131,457,145 โดส (30.5%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, AstraZeneca, Moderna และ Sinopharm
2. ไทย จำนวน 47,296,431 โดส (45.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Sinovac, AstraZeneca และ Sinopharm
3. ฟิลิปปินส์ จำนวน 43,088,582 โดส (21.1%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinovac, Pfizer, Sputnik V, Moderna, J&J และ AstraZeneca
4. มาเลเซีย จำนวน 41,573,883 โดส (68.7%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, AstraZeneca และ Sinovac
5. เวียดนาม จำนวน 36,152,556 โดส (29.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca, Pfizer, Moderna และ Sinopharm
6. กัมพูชา จำนวน 24,385,751 โดส (75.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, AstraZeneca, J&J และ Sinovac
7. พม่า จำนวน 9,742,585 โดส (11.3%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
8. สิงคโปร์ จำนวน 9,176,863 โดส (77.8%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Pfizer, Moderna และ Sinovac
9. ลาว จำนวน 4,826,961 โดส (39%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sputnik V, Pfizer, J&J, Sinovac และ AstraZeneca
10. บรูไน จำนวน 432,882 โดส (59.6%* ของประชากร) ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca และ Sinopharm
* คำนวณจากจำนวนฉีด/จำนวนประชากร/2 เหมือนกันทุกประเทศ

7. จำนวนการฉีดวัคซีนแยกตามภูมิภาค
1. เอเชียและตะวันออกกลาง 68.60%
2. อเมริกาเหนือ 9.97%
3. ยุโรป 11.62%
4. ลาตินอเมริกาและแคริบเบียน 6.97%
5. แอฟริกา 2.31%
6. โอเชียเนีย 0.53%

8. ประเทศที่ฉีดวัคซีนแล้วมากที่สุด 5 ประเทศลำดับแรกที่ฉีดวัคซีนมากกว่า 100 ล้านโดส รวมกันเกือบ 70% ของปริมาณการฉีดวัคซีนทั่วโลก
1. จีน จำนวน 2,186.58 ล้านโดส (78.1% ของจำนวนการฉีดทั่วโลก)
2. อินเดีย จำนวน 841.23 ล้านโดส (30.8%)
3. สหรัฐอเมริกา จำนวน 387.82 ล้านโดส (60.6%)
4. บราซิล จำนวน 227.16 ล้านโดส (55.1%)
5. ญี่ปุ่น จำนวน 154.97 ล้านโดส (61.4%)

9. ประเทศที่ฉีดวัคซีนครอบคลุมประชากรมากที่สุด มี 10 ประเทศที่ฉีดวัคซีนให้กับประชากรอย่างน้อย 25% แล้ว ได้แก่ (เฉพาะประเทศที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน)
1. มัลดีฟส์ (97.4% ของประชากร) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinopharm)
2. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (91.7%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaleya)
3. อุรุกวัย (87%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
4. บาห์เรน (85.7%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, Pfizer/BioNTech, Sinopharm และ Gamaley)
5. คิวบา (84.2%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna J&J และ AstraZeneca/Oxford)
6. กาตาร์ (83.8%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
7. อิสราเอล (82%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech และ Moderna)
8. ชิลี (81.2%) (ฉีดวัคซีนของ AstraZeneca/Oxford, CanSino, Pfizer/BioNTech และ Sinovac)
9. จีน (78.1%) (ฉีดวัคซีนของ Sinopharm, Sinovac และ CanSino)
10. สิงคโปร์ (77.8%) (ฉีดวัคซีนของ Pfizer/BioNTech Moderna และ Sinovac)

แหล่งข้อมูล Bloomberg Vaccine Tracker, กระทรวงสาธารณสุข
ประมวลข้อมูลโดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)