• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

ธ.ก.ส.หนุนสินเชื่อพัฒนาเกษตรแปลงใหญ่แล้ว 366 กลุ่ม วงเงินกว่า 2 พันลบ.

Started by Shopd2, March 21, 2022, 12:48:35 PM

Previous topic - Next topic

Shopd2

ธ.ก.ส.หนุนสินเชื่อพัฒนาเกษตรแปลงใหญ่แล้ว 366 กลุ่ม วงเงินกว่า 2 พันลบ.

นายธนารัตน์ งามวลัยรัตน์ ผู้จัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เปิดเผยว่า ธ.ก.ส. ได้ดำเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี (ครม.) ในโครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนาการเกษตรแปลงใหญ่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มและจัดหาปัจจัยการผลิตร่วมกัน ซึ่งช่วยลดต้นทุนและเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันทั้งการผลิต การแปรรูป การรวบรวมผลผลิตเพื่อจำหน่าย โดยล่าสุด ธ.ก.ส. ได้ปล่อยสินเชื่อให้กลุ่มเกษตรกรฯ ไปแล้ว 366 กลุ่ม เป็นเงิน 2,104 ล้านบาท

โครงการดังกล่าว มีวงเงินสินเชื่อรวม 20,000 ล้านบาท ซึ่ง ธ.ก.ส.จะสนับสนุนเงินทุนให้แก่กลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และสหกรณ์การเกษตร เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย ค่าลงทุน อัตราดอกเบี้ยทั้งโครงการ 3.01% ต่อปี โดยกลุ่มเกษตรกรฯ จ่ายดอกเบี้ยเพียง 0.01% ต่อปี หรือล้านละร้อย ทั้งนี้ รัฐบาลจะชดเชยดอกเบี้ยให้ ธ.ก.ส.แทนเกษตรกร 2.875% ต่อปี และ ธ.ก.ส.รับภาระดอกเบี้ยเอง 0.125% ต่อปี ระยะเวลาไม่เกิน 5 ปีนับตั้งแต่วันกู้ เริ่มตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 30 มิถุนายน 2575

นายธนารัตน์ กล่าวว่า สำหรับหลักเกณฑ์การเข้าร่วมโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาการเกษตรแปลงใหญ่ ต้องเป็นสหกรณ์การเกษตร วิสาหกิจชุมชน และกลุ่มเกษตรกร ที่รวมตัวกันตั้งแต่ 30 คนขึ้นไป และมีพื้นที่การผลิต ทั้งประเภทพืชไร่ ยางพารา ข้าว ปาล์ม ไม้ผล พืชผัก ไม้ดอก ประมง และปศุสัตว์ รวมกันตั้งแต่ 300 ไร่ขึ้นไป

อย่างไรก็ดี ในส่วนของพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ธ.ก.ส. ได้ปล่อยสินเชื่อไปแล้ว 7 กลุ่ม เป็นเงิน 8.14 ล้านบาท และสำหรับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ผลิตดอกเบญจมาศแปลงใหญ่ บ้านตาติด ตำบลในเมือง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ถือเป็นตัวอย่างการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาการเกษตรแปลงใหญ่ที่สามารถลดต้นทุนการผลิต เช่น การซื้อปุ๋ย ยา กระดาษในการห่อดอกเบญมาศ รวมถึงการขยายองค์ความรู้ในการผลิตต้นพันธุ์เอง ช่วยสร้างรายได้ที่มั่นคงให้กับสมาชิกกว่า 43 ราย

"ที่สำคัญ ทำให้กลุ่มเป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้ค้า และผู้ซื้อทั่วประเทศ และเป็นศูนย์กลางในการจำหน่ายดอกเบญจมาศในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างทั้งหมด หากกลุ่มเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และสหกรณ์ฯ ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมหรือติดต่อได้ที่ ธ.ก.ส.ทุกสาขา" นายธนารัตน์ กล่าว