• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

รัฐบาล “ซุกหนี้ผ่านแบงก์รัฐ” ใกล้ชนเพดาน 9.3 แสนล้าน

Started by Chigaru, November 07, 2021, 06:39:14 PM

Previous topic - Next topic

Chigaru


รัฐบาล ใช้เงินมือเติบผ่านแบงก์รัฐ อุดหนุนสินค้าเกษตร-ประกันรายได้ เสี่ยงชนเพดานวินัยการเงินการคลัง 9.3 แสนล้าน น่าห่วง! ไม่ถูกนำมารวมในหนี้สาธารณะ

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ขณะนี้รัฐบาลกำลังเผชิญปัญหาทางการคลัง หลังก่อหนี้โดยให้หน่วยงานของรัฐดำเนินโครงการแทนจนใกล้เต็มเพดานหนี้ที่กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.วินัยการเงินการคลัง มาตรา 28 ที่กำหนดให้รัฐบาลต้องมียอดหนี้คงค้างรวมกันได้ไม่เกิน 30% ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำให้ปีงบ 65 รัฐบาลจะมีหนี้สะสมไม่เกิน 930,000 ล้านบาท จากงบประมาณรายจ่ายประจำปี 65 ที่ตั้งไว้ 3.1 ล้านล้านบาท 

 

โดยพบว่าหนี้สะสมส่วนใหญ่ ฝังอยู่กับสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ เช่น  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) มีหนี้สะสมมากสุดจากโครงการอุดหนุนสินค้าเกษตรถึง 600,000 – 700,000 ล้านบาท ธนาคารออมสิน มีหนี้กว่า 30,000 ล้านบาท เช่น โครงการสินเชื่อช่วยเหลือประชาชน และยังมีในธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย  ซึ่งหนี้สะสมที่ให้หน่วยงานรัฐทำแทน ไม่ได้ถูกนำมารวมเป็นหนี้สาธารณะ  


ทั้งนี้พบว่า โครงการที่ใช้งบประมาณ และสร้างภาระทางการคลังตามมาตรา 28 ส่วนใหญ่ เป็นโครงการอุดหนุนสินค้าเกษตรที่นำเสนอโดยกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ซึ่งช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ในฤดูกาลผลิตปี 62-64 มีการขอใช้แหล่งเงินทุนของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เพื่อจ่ายขาดเกษตรกร 2.3 แสนล้านบาท และโครงการสินเชื่ออีก 4-5 หมื่นล้านบาท อีกทั้งยังมีโครงการช่วยเหลือเกษตรกรฤดูกาลผลิตใหม่ปี 64/65 อีกกว่า 1.7 แสนล้านบาท รวมแล้วไม่ต่ำกว่า 4 แสนล้านบาท

 

ทั้งนี้ ช่วงฤดูกาลผลิตปี 62/63 มีการใช้เงินช่วยเหลือเกษตรกรไป 9 โครงการ วงเงิน 1.2 แสนล้านบาท ได้แก่ โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวเกือบ 2 หมื่นล้านบาท โครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนยางเกือบ 2.5 หมื่นล้านบาท โครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนปาล์ม 7.2 พันล้านบาท โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง 7.9 พันล้านบาท โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 1 พันล้านบาท

 

นอกจากนี้ยังมีโครงการสนับสนุนต้นทุนการผลิต และช่วยเหลือค่าเก็บเกี่ยว 4.9 หมื่นล้านบาท โครงการช่วยเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยเพื่อซื้อปัจจัยการผลิต 9.7 พันล้านบาท โครงการเยียวยาเกษตรกรชาวสวนลำไย 2.8 พันล้านบาท รวมถึงได้ให้ ธ.ก.ส.เข้าไปช่วยเหลือสินเชื่อแก่เกษตรกร วงเงินกว่า 2.4 หมื่นล้านบาท เช่น โครงการจำนำยุ้งฉาง  สินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวแก่สถาบันเกษตร สินเชื่อรวบรวมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และสินเชื่อเพื่อรวบรวมผลไม้ 

ส่วนฤดูกาลผลิตปี 63/64 มีการจ่ายเงินช่วยเหลือเกษตรกรผ่านแหล่งเงินทุน ธ.ก.ส. สูงอย่างต่อเนื่องกว่า 1.1 แสนล้านบาท เช่น โครงการประกันรายได้เกษตรผู้ปลูกข้าวที่ใช้เพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัวเป็น 4.8 หมื่นล้านบาท โครงการประกันรายได้เกษตรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 1.2 พันล้านบาท โครงการประกันรายได้เกษตรผู้ปลูกมันสำปะหลัง  2.7 พันล้านบาท โครงการประกันรายได้เกษตรชาวสวนยาง 7.4 พันล้านบาท  โครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตชาวนา 5.3 หมื่นล้านบาท และยังช่วยผ่านโครงการสินเชื่ออีกกว่า 2 หมื่นล้านบาท เช่น สินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวโพดและสร้างมูลค่าเพิ่ม โครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่ม

 

นอกจากนี้ โครงการประกันรายได้ ฤดูกาลผลิต 64/65 ที่กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เสนออีก 5 ชนิด ใช้งบกว่า 1.74 แสนล้านบาท ได้แก่ ประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว 89,306 ล้านบาท ประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 1.8 พันล้านบาท ประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง 1.1 หมื่นล้านบาท ประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนปาล์ม 7.6 พันล้านบาท ประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนยาง 1 หมื่นล้านบาท และโครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต  64/65 อีก 54,972 ล้านบาท