• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

‘อริย์ธัช’ ชี้ กรมอนามัยแนะยกระดับมาตรการโควิดในบ้าน

Started by kaidee20, August 21, 2021, 04:08:35 AM

Previous topic - Next topic

kaidee20



วันนี้(20 ส.ค.)นายอริย์ธัช ชาติอาริยะพงศ์ ว่าที่ผู้สมัคร ส.ส.พรรคกล้าเขตสวนหลวง-ประเวศกล่าวว่า จากกรณีที่ อธิบดีกรมอนามัย เรียกร้องว่ามีความจำเป็นต้องยกระดับมาตรการป้องกันโควิดด้วยการให้สวมหน้ากากในบ้านเพิ่มมากขึ้น เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อสู่คนในบ้าน เพราะสถานการณ์ขณะนี้พบผู้ติดเชื้อจากการสัมผัสสมาชิกในครอบครัวหรือเกิดกับผู้ใกล้ชิดเพิ่มมากขึ้นนั้น

นายอริย์ธัช ระบุต่อไปว่า โดยหลักการถือว่าเป็นข้อแนะนำที่ชวนให้ตระหนักถึงปัญหาและสถานการณ์ที่กำลังเกิดขึ้น แต่ในความเป็นจริงมาตรการนี้อาจมีความลำบากในทางปฏิบัติ เพราะหลายครอบครัวไม่ได้มีพื้นที่มากนัก สุดท้ายแล้วก็ต้องมีสัมผัสใกล้ชิดในชีวิตประจำวันซึ่งสามารถสัมผัสเชื้อได้หลายทาง ไม่ว่าจะเป็นเชื้อที่ติดอยู่ตามสถานที่ใช้งานร่วมกันต่างๆโดยมือสามารถป้ายไปยังที่ต่างๆในบ้าน หรือเวลารับประทานอาหารที่ยังคงต้องถอดหน้ากากอยู่ดี อย่างไรก็ตาม ในสิ่งที่ตนเป็นห่วงและยังไม่ได้ถูกจัดการให้ดีพอในตอนนี้สำหรับภาคครัวเรือนก็คือ ขยะติดเชื้อต่างๆที่ไม่ได้รณรงค์หรือหาเครื่องมือช่วยให้มีการคัดแยกตั้งแต่ต้นทางได้มากพอ และปัญหาการเกิดสภาพล้นเกินปริมาณการกำจัดในแต่ละวันที่ปลายทาง ซึ่งหากมีการสวมใส่หน้ากากอนามัยเพิ่มขึ้นในชีวิตประจำวันแม้อยู่ในบ้านก็จะเป็นการเพิ่มขยะให้มากขึ้นอีก

"ปริมาณขยะปี 2563 คาดว่าน่าจะอยู่ที่ราว 25 ล้านตัน แต่ที่ถูกกำจัดอย่างถูกต้องมีประมาณ 9 ล้านตันเท่านั้น ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษที่สำรวจไว้พบว่า การนำหน้ากากอนามัยไปทิ้งในบ่อฝังกลบทั่วไป ทำได้เพียงร้อยละ 25  เผาในเตาขยะติดเชื้อร้อยละ 9 จ้างเอกชนรับกำจัดร้อยละ 8 ที่มากที่สุดคือรวบรวมให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดกำจัดถูกวิธีร้อยละ 51 จึงยังมีขยะติดเชื้ออีกพอสมควรที่ยังไม่ถูกจัดการ และปัญหาใหญ่ก็คือการไม่แยกขยะตั้งแต่ต้นทาง ทำให้ขยะติดเชื้อจากครัวเรือนไม่ว่าจะเป็นหน้ากากหรือทิชชู่หรืออื่นๆที่อาจมีเชื้อ เช่น ชุดตรวจ ATK ถูกรวมในถุงขยะเดียวกันทำให้ไม่สามารถนำไปกำจัดอย่างถูกต้องได้ ยิ่งพื้นที่กำจัดล้นจนระบายไม่ทันก็อาจแพร่กระจายเชื้อติดไปยังขยะอื่นได้ โดยอาจมีคนมาเก็บคัดแยกขยะก็กลายเป็นความเสี่ยง ดังนั้น สำหรับคนเก็บและแยกขยะจึงควรต้องนับรวมเป็นบุคลากรด้านหน้าที่ควรได้รับวัคซีนไฟเซอร์เพื่อป้องกันเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ จะเห็นว่าปัญหาขยะติดเชื้อมีแนวโน้มที่จะมากขึ้นทุกที เมื่อจะยกระดับการควบคุมโรคแล้วก็ต้องคิดให้ครบถ้วนถึงปลายน้ำ นั่นคือการหาทางยกระดับมาตรการจัดการขยะติดเชื้อด้วย"นายอริย์ธัช กล่าว