• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

เมืองน่านเมื่อนานมา พงศาวดารเมืองน่านเล่าว่า ปลายพุทธศตวรรษที่ 18

Started by Beer625, November 16, 2021, 10:03:19 PM

Previous topic - Next topic

Beer625

เมืองน่านเมื่อนานมา พงศาวดารเมืองน่านเล่าว่า ปลายพุทธศตวรรษที่ 18 พญาพูคาได้ครอบครองพื้นที่ราบตอนบนอยู่ที่เมืองย่าง (ปัจจุบันคือพื้นที่ ต.ยม อ.ท่าวังผา จ.น่าน) วันหนึ่งพญาพูคาได้รับไข่นกสองฟองขนาดเท่าผลมะพร้าวจากพรานป่า จึงทรงเก็บรักษาไว้โดยแยกใส่กะทอ (ก๋วย) นุ่นและกะทอฝ้าย จากนั้นไข่ทั้งสองฟองก็ฟักออกมาเป็นทารก พญาพูคาจึงทรงรับเลี้ยงไว้เป็นโอรสบุญธรรม ให้นามโอรสจากกะทอนุ่นว่า "ขุนนุ่น" และโอรสจากกะทอฝ้ายว่า "ขุนฟอง" เมื่อโอรสทั้งสองเจริญพระชันษาเป็นบุรุษจึงมีพระประสงค์จะครองบ้านเมือง พญาพูคาจึงโปรดให้ไปหาพญาเถรแต๋ง เจ้าฤๅษีที่ดอยติ้ว ดอยวาว (ปัจจุบันอยู่ในเขต อ.สองแคว จ.น่าน) เพื่อขอพระกรุณาโปรดสร้างเมืองให้ พญาเถรแต๋งพาไปสถานที่แห่งหนึ่งทางทิศตะวันออกของแม่น้ำโขง ใช้ไม้เท้าแบ่งเขตแดนแล้วให้ชื่อเมืองว่า "จันทบุรี" โปรดให้ขุนนุ่นเป็นกษัตริย์ปกครอง (ปัจจุบันคือเมืองหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว) ส่วนทางทิศตะวันออกฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง พญาเถรแต๋งใช้ไม้เท้า แบ่งเขตแดนและให้ชื่อเมืองว่า "วรนคร (เมืองปัว)"แล้วโปรดให้ขุนฟองเป็นกษัตริย์ปกครอง (สันนิษฐานว่าเป็นบริเวณที่ราบแถบ ต.ศิลาเพชร อ.ปัว จ.น่าน) ขุนฟองจึงถือเป็นกษัตริย์น่านองค์ที่ 1 หลังจากนั้นราวพ.ศ.1896 สมัยของพญาครานเมืองกษัตริย์น่านองค์ที่ 5 ได้สร้างพระธาตุแช่แห้งณดอยภูเพียงแช่แห้งเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุพระพิมพ์เงินและพระพิมพ์ทองที่ได้รับพระราชทานมาจากเจ้าเมืองสุโขทัยแล้วย้ายราชธานีมาสร้างเวียงใหม่ทางทิศใต้ของวรนครใกล้กับพระธาตุแช่แห้งเรียกว่า "เวียงพูเพียงแช่แห้ง" พ.ศ. 1906 สมัยของพญาผากองกษัตริย์น่านองค์ที่ 6 โอรสในพญาครานเมืองเวียงพูเพียงแช่แห้งประสบปัญหาความแห้งแล้งอย่างหนักพญาผากองทรงพระสุบินว่ามีโคอุศุภราชวิ่งข้ามแม่น้ำน่านมายังฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นที่ราบกว้างใหญ่ แล้วถ่ายมูลไว้เป็นแนวหลักหมายเขตกำแพงเมือง เมื่อพระองค์เสด็จ ณ ที่แห่งนั้นก็ทอดพระเนตรเห็นจริงตามพระสุบินทุกประการ จึงทรงอพยพพลเมืองข้ามฝั่งแม่น้ำน่านมาสร้างราชธานีใหม่ที่ห้วยไคร้ (เขตเวียงใต้ของตัวเมืองน่านในปัจจุบัน) ใน พ.ศ. 1911 และตั้งชื่อเมืองว่า "นันทบุรี" เพราะมีชีปะขาวชื่อ "นันทะ" อาศัยอยู่ ณ ที่แห่งนี้ ต่อมาชาวบ้านเรียกเมืองนี้ว่า "เมืองน่าน" ตราบจนปัจจุบัน เพราะเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ใกล้กับแม่น้ำน่าน ขึ้นต่ออาณาจักรล้านนาและพม่า พระเจ้าติโลกราชยกทัพจากเชียงใหม่มาตีเมืองน่านในพ.ศ. 1993 สมัยของพญาอินต๊ะแก่นท้าวกษัตริย์น่านองค์ที่ 15 เมืองน่านจึงถูกผนวกเข้ากับเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนามีฐานะเป็นเพียงหัวเมืองหนึ่งโดยมีเจ้าเมืองที่ได้รับแต่งตั้งผลัดเปลี่ยนกันปกครองเมืองเรื่อยมา จนกระทั่งพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์แห่งกรุงหงสาวดี (พม่า) ตีเมืองเชียงใหม่ได้เมืองน่านจึงตกเป็นเมืองประเทศราชของพม่าร่วม 200 ปี ราวพ.ศ. 2232 เมืองน่านถูกทิ้งร้างนาน 5 ปีเนื่องจากพระเมืองราชาเจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 47 ได้คิดคบกับลาวแสนแก้วแข็งเมืองต่อพม่าพระเจ้ากรุงอังวะจึงได้ยกทัพมาปราบและเผาบ้านเมืองจนเสียหายอย่างหนักผู้คนล้มตายบางส่วนหลบหนีเข้าป่าจากนั้นอีก 1 ปีพวกลาวและแกว (ญวน) ก็เข้ามารุกรานเมืองน่านกวาดต้อนเอาชาวเมืองที่เหลือไปไว้เมืองลาวเมืองน่านจึงถูกทิ้งร้างเป็นครั้งแรก พ.ศ. 2314 พญามโนเจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 54 ได้ส่งเจ้าน้อยวิทูรเข้าช่วยราชการศึกร่วมกับกองทัพหัวเมืองล้านนานำโดยพญาจ่าบ้านและเจ้ากาวิละเข้าสวามิภักดิ์ต่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จนสามารถขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่ได้และเมืองน่านก็ถูกทิ้งร้างอีกเป็นครั้งที่ 2 เมื่อพ.ศ. 2321 ในสมัยของพญาวิทูรเจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 55 เนื่องจากถูกจับตัวไปยังกรุงศรีอยุธยาเพราะไม่จงรักภักดีน่านจึงขาดผู้นำกองทัพพม่าซึ่งตั้งอยู่ที่เมืองเชียงแสนจึงเข้ามารุกรานเมืองน่านและกวาดต้อนเอาชาวเมืองน่านไปไว้ที่เชียงแสนเมืองน่านจึงถูกทิ้งร้างนาน 23 ปี สวามิภักดิ์ต่อราชวงศ์จักรี ครั้นเมื่อพ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานีและปราบดาภิเษกขึ้นเป็นรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรีเจ้าฟ้าอัทธวรปัญโญ (ขณะนั้นรั้งเมืองอยู่ที่เมืองเทิงปัจจุบันคืออ.เทิงจ.เชียงราย) จึงเข้าเฝ้าฯเพื่อทูลสวามิภักดิ์เป็นข้าขอบขัณฑสีมาในพ.ศ. 2331 รัชกาลที่ 1 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เจ้าฟ้าอัทธวรปัญโญเป็นเจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 57 และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ซ่อมสร้างเมืองน่านหลังจากที่ถูกทิ้งร้างนาน 23 ปีนับแต่นั้นมาเมืองน่านจึงมีฐานะเป็นเมืองประเทศราชของกรุงรัตนโกสินทร์ จากนั้นเมืองน่านก็มีการย้ายเมืองอีก 2 ครั้งเนื่องจากเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ครั้งแรกในพ.ศ. 2360สมัยของเจ้าสุมนเทวราชได้ย้ายเมืองไปอยู่บริเวณดงพระเนตรช้างมีวัดสถารศเป็นวัดหลวงประจำเวียงเหนือ พ.ศ. 2398 เจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯกราบบังคมทูลขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อย้ายเมืองจากดงพระเนตรช้างกลับมาอยู่ที่เวียงเก่า (ตัวเมืองน่านปัจจุบัน) แล้วโปรดให้ซ่อมสร้างเวียงเก่า โดยให้สร้างคุ้มแก้ว 7 หลัง เป็นที่ประทับ และสร้าง "หอคำ" เป็นท้องพระโรงออกว่าราชการเมื่อถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯสถาปนาพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯขึ้นเป็นพระเจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 63 นับเป็นเจ้านครน่านองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาเป็น "พระเจ้า" เจ้าผู้ครองนครน่านองค์สุดท้ายได้แก่มหาอำมาตย์โทเจ้ามหาพรหมสุรธาดาฯเจ้าผู้ครองนครน่านองค์ที่ 64 ถึงแก่พิราลัยในพ.ศ. 2474 นับเป็นเจ้าผู้ครองนครน่านคนสุดท้ายและในพ.ศ. 2433 ได้มีพระยาพิชัยชาญฤทธิ์เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดคนแรก เมืองแห่งความอุดมสมบูรณ์ จังหวัดน่านนอกจากจะเป็นแหล่งกำเนิดแม่น้ำน่านแล้วยังมีพื้นที่ป่ามากถึง 6,496,231.62 ไร่คิดเป็นร้อยละ 85.45 ของพื้นที่ทั้งหมดของจังหวัดโดยจำแนกเป็นป่าอนุรักษ์ 2,781,676.12 ไร่และป่าสงวนแห่งชาติ 17 แห่ง 3,714,555.50 ไร่ จึงทำให้น่านยังมีอุทยานแห่งชาติมากถึง 7 แห่งได้แก่อุทยานแห่งชาติดอยภูคาอุทยานแห่งชาติขุนน่านอุทยานแห่งชาติขุนสถานอุทยานแห่งชาติแม่จริมอุทยานแห่งชาตินันทบุรีอุทยานแห่งชาติศรีน่านและอุทยานแห่งชาติถ้ำสะเกิน ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าและน้ำประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดน่านจึงมีอาชีพเกษตรกรโดยจังหวัดน่านมีพื้นที่ทางการเกษตรถึง 1,414,693 ล้านไร่ 16.78% เป็นนาพื้นที่ปลูกข้าว 55.54% ปลูกพืชไร่20.18% เป็นสวนไม้ผลและไม้ยืนต้น 7.22% คือที่ดินทางการเกษตรอื่นๆและ 0.27% เป็นที่ดินทางการเกษตรอื่นๆเช่นสวนผักไม้ดอกไม้ประดับโดยจังหวัดน่านมีรายได้จากภาคการเกษตร 8,582 ล้านบาทต่อปีนอกจากภาคการเกษตรจังหวัดน่านยังมีรายได้จากภาคอุตสาหกรรม (เกี่ยวกับผ้าทอเครื่องเงินและการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร) 18,564,631 ล้านบาทต่อปี และด้วยความสวยงามของธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ป่าเขาความรุ่มรวยและเข้มแข็งทางวัฒนธรรมกับประวัติศาสตร์อันยาวนานมากกว่า 700 ปี จึงทำให้น่านกลายเป็นเมืองหมุดหมายสำคัญในการท่องเที่ยวที่สร้างรายได้ให้กับจังหวัดน่านจากการท่องเที่ยวปีละไม่น้อยกว่า 2,154.85 ล้านบาท
"ซื้อ-ขาย 77 จังหวัด งาน ONLINE เพื่อชีวิต ABOVE LINE"
http://nan.seomediamarketing.ws/


สินค้าทั้งหมดจำนวน : 95 รายการ หมวด : เครื่องสำอางค์ เสริมความงาม (15) หมวด : สินต้าแลับริการ (1) หมวด : งาน หางาน สมัครงาน (0) หมวด : รถยนต์ ยานพาหนะ (0) หมวด : ธุรกิจ รับจ้าง ขายตรง (0) หมวด : บ้าน อสังหาริมทรัพย์ (0) หมวด : สุขภาพ สปา การแพทย์ (0) หมวด : เสื้อผ้า เครื่องแต่งกายเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย (0) หมวด : เฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์ตกแต่ง (0) หมวด : คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ไอที (0) หมวด : ลูกร้อยมาเลย์ (3) หมวด : มือถือ อุปกรณ์สื่อสารมือถือ อุปกรณ์สื่อสาร (0) หมวด : กล้อง อุปกรณ์ถ่ายภาพ (0) หมวด : จิวเวลลี่ เครื่องประดับ (1) หมวด : เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ (0) หมวด : แฟชั่น นาฬิกา แว่นตา ดัดฟัน (0) หมวด : สัตว์เลี้ยง อาหารสัตว์ อุปกรณ์ (0) หมวด : เกมส์ วีดีโอเกมส์ แผ่นเกมส์ (0) หมวด : อุตสาหกรรม นำเข้า ส่งออก (0) หมวด : ของเล่น ของสะสม งานอดิเรก (0) หมวด : บันเทิง การรื่นเริง จัดงาน (0) หมวด : ลูกนอกมาเลย์นำเข้า (2) หมวด : หนัง เพลง DVD VCD (0) หมวด : อื่นๆ จิปาถะ (45) หมวด : บริการ (0) หมวด : แม่พันธืปลาเก่ง (1) หมวด : บริการ (12) หมวด : สุขภาพ (3) หมวด : สุขภาพ (0) หมวด : สมุนไพร (2) หมวด : เครื่องดื่ม (2) หมวด : ผลิตภัณฑ์แบรนด์เปี่ยมสุข (8)