• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

ทีม People Matter คว้ารางวัล Best Innovation การแข่งขันนวัตกรรม แก้วิกฤตฝุ่นพิษ

Started by Fern751, July 27, 2021, 10:25:10 AM

Previous topic - Next topic

Fern751




เมื่อวันที่ 26 ก.ค. สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และสมาพันธ์นิสิตนักศึกษานานาชาติแห่งประเทศไทย (International Federation of Medical Students' Associations : IFMSA) จัดงานประกาศผลการตัดสินการประกวดนโยบายและนวัตกรรมทางสังคมของคนรุ่นใหม่ เพื่อแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ PM2.5 ภายใต้โครงการ Thailand Youth Policy Initiative (TYPI) เมื่อวันที่ 24 ก.ค. ที่ผ่านมา โดยมีเยาวชนและวัยทำงาน อายุ 16-30 ปี เข้าร่วมการแข่งขันกว่า 120 คน ร่วมส่งผลงานเข้าประกวดรวม 30 ผลงาน สำหรับประกวดครั้งนี้ คณะกรรมการได้พิจารณาและตัดสินอย่างรอบคอบ โดยผู้ได้รับรางวัล Best Innovation ได้แก่ ทีม People Matter (PM 4.0 ) ชื่อผลงานแพลตฟอร์มดิจิทัลสาธารณะ เพื่อการจัดการมาตรการ PM2.5 แบบชี้เป้า และรางวัลชนะเลิศ 3 รางวัล ได้แก่ 1.ทีมDustsappear 2. ทีมAirtopia และ3.ทีมทางของฝุ่น


นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ กล่าวว่า ฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือ PM2.5 เป็นปัญหาใหญ่ของประเทศไทยที่สะสมมาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในเมืองใหญ่อย่าง กรุงเทพฯ เนื่องจากมีการก่อสร้างพัฒนาเมืองตลอดเวลา รวมถึงการเผาไหม้ของรถบนท้องถนน จากข้อมูลการประมาณการณ์ความเสียหายจากฝุ่น PM2.5 เกินค่ามาตรฐาน ปี 2563 พบว่า กรุงเทพฯ ได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจกว่า 3 หมื่นล้านบาท ทั้งค่าเสียโอกาสด้านสุขภาพ ค่ารักษาพยาบาล ค่าเครื่องฟอกอากาศ ค่าเสียโอกาสด้านการท่องเที่ยว และค่าเสียโอกาสของภาคธุรกิจ การประกวดนโยบายและนวัตกรรมทางสังคมของคนรุ่นใหม่เพื่อแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ PM2.5 ครั้งนี้ ผู้ที่ส่งผลงานเข้าประกวดทุกคน ถือเป็นกำลังสำคัญในการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ซึ่งผลงานที่ได้รับรางวัลจะได้รับโอกาสต่อยอดผลงานถูกนำไปใช้งานได้จริง และขยายผลต่อไปในวงกว้างมากยิ่งขึ้น เพื่อเร่งแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศที่ต้นเหตุ เพื่อลดความเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชนได้ในระยะยาว


ศ.พิเศษ ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กล่าวว่า ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษา30ทีมที่เข้าร่วม และนำเสนอนวัตกรรมวันนี้ เชื่อว่าเราจะได้นโยบายสาธารณะที่ช่วยแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 ที่ได้จากการช่วยกันคิดนวัตกรรมของคนหลายวัย หลายสาขาจะเป็นประโยชน์กับประเทศ รวมถึงขอให้มีการศึกษาวิจัยเรื่องอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อไป อย่างไรก็ตาม สิ่งที่อยากฝากคือการนำโนยายสาธารณะที่เป็นสากลของประเทศตะวันตกมาใช้นั้นต้องเรียนว่าใช้ได้เพียงเล็กน้อย เพราะบริบทของประเทศไทยกับตะวันตกมีความแตกต่างกัน ดังนั้นการทำนโยบายสาธารณะจะต้องมีการศึกษาบริบท วัฒนธรรมของประเทศเราเองด้วย เช่น นโยบายสาธารณะในเรื่องที่เกี่ยวกับ PM 2.5 ต้องทราบว่าส่วนหนึ่งมาจากการเผาไหม้ทางการเกษตรในพื้นที่ชนบท รวมถึงเกษตรกรในประเทศเพื่อนบ้านที่มีชายแดนติดกัน ซึ่งเป็นวิถีชีวิตของคนในพื้นที่ ที่เราต้องเรียนรู้เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 และให้ประชาชนในพื้นที่สามารถอยู่ร่วมกับป่าได้


ศ.พิเศษ ดร.เอนก กล่าวว่า อีกหนึ่งประเด็นที่สำคัญคือเรื่องของช่วงวัย (Generation) ซึ่งตนยินดีต้อนรับคนรุ่นใหม่เสมอ ดังนั้น การที่เราได้ตระหนักว่าเราอยู่ในวัยไหนแล้วรู้ว่ามีจุดอ่อน จุดแข็งอย่างไร แล้วนำมาปรับเข้าหากันเพื่อพัฒนาประเทศต่อไป ซึ่งวันนี้ประเทศไทยก็พัฒนาขึ้นมากจากเมื่อก่อน มีเป้าหมายต่อจากนี้ในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการขับเคลื่อนประเทศไทยให้พ้นจากการเป็นประเทศรายได้ปานกลางระดับบน ให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วตามกำหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เช่นอีกไม่นานประเทศไทยก็จะผลิตวัคซีนป้องกันโควิดได้ โดยใช้เทคโนโลยีที่ไม่ได้แตกต่างกับที่ต่างประเทศทำอยู่


ดร.นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้ช่วยผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กล่าวว่า องค์การอนามัยโลกกำหนดค่ามาตรฐานของฝุ่น PM2.5 ที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่ปลอดภัยต่อสุขภาพอยู่ที่ 25 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร แต่ในประเทศไทยกลับพบฝุ่น PM2.5 ที่ 50-68 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ถือว่ามากกว่ามาตรฐานเกือบ 2 เท่าตัว กลายเป็นปัญหามลพิษทางอากาศต้นเหตุสำคัญทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคระบบทางเดินทางใจ สสส. ตระหนักถึงผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 มุ่งขับเคลื่อนการทำงานตั้งแต่ระดับพื้นที่ไปจนถึงระดับนโยบายเพื่อเร่งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ การแก้ปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ต้องเร่งแก้ไขแบบองค์รวม ทั้งการปลูกจิตสำนึกส่วนบุคคล การสร้างความสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วมของคนในสังคม เพื่อร่วมแก้ปัญหา ไม่ใช่เป็นการออกกฎ ระเบียบบังคับใช้เท่านั้น


ดร.นพ.ไพโรจน์ กล่าวว่า สสส. สนับสนุนการสร้างเมล็ดพันธุ์นักนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพจากพลังคนรุ่นใหม่ที่สำคัญของประเทศ เพื่อพัฒนานวัตกรรมให้เป็นรูปธรรม และขยายผลไปสู่การแก้ปัญหามลพิษทางอากาศได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ที่ผ่านมา สสส. แก้ปัญหาฝุ่นควันภายใต้แนวคิด 3 ข.คือ 1.เขย่า คิดนวัตกรรมใหม่ๆ เช่น นวัตกรรมธงสุขภาพ สีฟ้า เขียว เหลือง ส้ม แดง ใช้คู่กับเครื่องวัดค่าฝุ่น แจ้งเตือนให้คนในพื้นที่รู้ระดับคุณภาพอากาศ ดำเนินการใน 17 จังหวัดทั่วประเทศ เพื่อให้ประชาชนหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้งลดเสี่ยงต่อสุขภาพ 2.ขยับ นำสิ่งใหม่ที่คิดไปปรับใช้จริงตามบริบทของแต่ละพื้นที่และ 3.เขยื้อน ขยายผลจากระดับปัจเจกหรือระดับพื้นที่ นำไปสู่การผลักดันนโยบายเพื่อการแก้ปัญหาฝุ่น PM2.5 อย่างเร่งด่วน โดย สสส. ร่วมกับสภาลมหายใจ 8 จังหวัดภาคเหนือ ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมทำงานอย่างทุ่มเท สามารถแก้ปัญหาวิกฤตฝุ่น PM2.5 อย่างเป็นรูปธรรม ก่อให้เกิดความร่วมมือและเปลี่ยนแปลงค่านิยมในระดับภูมิภาค ทั้งนี้ หากทุกพื้นที่นำแนวคิด 3 ข. ไปปฏิบัติได้สำเร็จสามารถแก้ไขปัญหาฝุ่น PM2.5 รวมถึงปัญหาสุขภาพอื่นๆ ในพื้นที่ได้.