• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

ttb analytics คาดผู้ประกอบการร้านอาหารปี 2565

Started by Beer625, January 24, 2022, 02:23:30 AM

Previous topic - Next topic

Beer625

ttb analytics คาดผู้ประกอบการร้านอาหารปี 2565 แบกรับต้นทุนวัตถุดิบเพิ่มขึ้นกว่า 9-12% ของรายได้ แนะรัฐฯ ดูแลราคาสินค้าวัตถุดิบ พร้อมหนุนกำลังซื้อผู้บริโภค

ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีทีบี หรือ ttb analytics ประเมินผู้ประกอบการ SMEs ร้านอาหาร ต้องแบกต้นทุนจากราคาวัตถุดิบที่เพิ่มสูงขึ้นกว่า 9-12% คิดเป็นมูลค่า 2.1 - 2.7 หมื่นล้านบาท โดยกลุ่มผู้ประกอบการรายย่อย (Micro) ถูกกระทบสูงสุดกว่า 3 แสนรายจากฐานรายได้ต่ำ แนะรัฐฯ ดูแลราคาสินค้าวัตถุดิบ พร้อมหนุนกำลังซื้อผู้บริโภค

ปี 2565 ผู้ประกอบการอาหารโดยเฉพาะกลุ่ม SMEs เผชิญโจทย์ท้าทายใหญ่ด้านราคาวัตถุดิบที่ใช้ปรุงอาหารเพื่อจำหน่ายมีราคาเพิ่มขึ้นพร้อมกันหลายรายการ โดยมีการทยอยปรับขึ้นตั้งแต่ช่วงปลายปี 2564 ส่งผลให้ผู้ประกอบการร้านอาหารต้องแบกภาระเพิ่ม ทั้งนี้ พบว่าจากผู้ประกอบการอาหารกลุ่ม SMEs ทั้งหมดจำนวน 335,758 ราย ซึ่งส่วนใหญ่มีความเปราะบางทางการเงินและขนาดรายได้ที่ไม่สูง ได้รับผลกระทบอย่างมาก โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการขนาดย่อย (Micro) ที่มีสัดส่วนผู้ประกอบการสูงถึง 90.4%

ttb analytics ประเมินผลกระทบจากราคาวัตถุดิบที่สูงขึ้น ซึ่งส่งผลต่อต้นทุนและรายได้ โดยการวิเคราะห์โครงสร้างต้นทุนด้วยตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต (Input-Out table) และแนวโน้มราคาสินค้าที่ได้รับผลกระทบปัญหา Supply Shock รวมถึงทิศทางราคาวัตถุดิบอยู่ในระดับสูงในช่วงครึ่งแรกของปี 2565 โดยพบว่าต้นทุนกลุ่ม SMEs ร้านอาหารอยู่ที่ 67.3% และมีกำไรขั้นต้นที่ 32.8% ทั้งนี้ ปัญหาราคาวัตถุดิบที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมาทำให้ต้นทุนการขายเพิ่มสูงขึ้นเป็น 76.0 - 78.6% ส่งผลให้กำไรลดลงเหลือเพียง 21.2% - 23.9% กลุ่มผู้ประกอบการขนาดย่อยที่มีฐานรายได้ไม่สูงเริ่มได้รับผลกระทบอย่างชัดเจนและมีความจำเป็นต้องขึ้นราคาค่าสินค้าอาหาร เพื่อรักษาระดับกำไรให้มีความใกล้เคียงกับภาวะก่อนเกิดวิกฤตต้นทุนค่าสินค้าแพงในยุคปัจจุบัน

ทั้งนี้ รายได้ประมาณการของผู้ประกอบการ SMEs ร้านอาหารปี 2565 อยู่ที่ 2.35 แสนล้านบาท โดย ttb analytics ประเมินว่าต้นทุนที่ผู้ประกอบการต้องแบกรับเพิ่มขึ้นราว 2.1-2.70 หมื่นล้านบาทต่อปี ทำให้กำไรลดลง โดยข้อมูลจาก สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) พบว่า กลุ่มผู้ประกอบการรายย่อยมีมากถึง 303,490 ราย เป็นกลุ่มที่ได้รับผลกระทบชัดเจนที่สุดจากฐานรายได้ที่ไม่สูงด้วยค่าเฉลี่ยราว 41,500 บาทต่อเดือน เมื่อต้องเผชิญกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้น ทำให้กำไรอาจไม่เพียงพอกับค่าครองชีพ ส่งผลให้ผู้ประกอบการรายย่อยอาจต้องทยอยเริ่มปรับราคาสินค้าเพื่อรองรับต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งเป็นการเพิ่มเติมภาระให้กับภาคประชาชนที่ยังคงไม่ฟื้นตัวจากวิกฤตโควิด-19 ในหลายระลอกที่ผ่านมา รวมถึงกลุ่มผู้บริโภครายได้น้อยที่ต้องถูกลดทอนกำลังซื้อลงจากปัญหาค่าครองชีพที่สูงขึ้น

สำหรับแนวทางเพื่อรับมือภาวะต้นทุนแพง ที่ภาครัฐสามารถเข้าไปช่วยดูแลช่วยเหลือ SMEs ได้แก่

โครงการช่วยเหลือของภาครัฐที่ตอบโจทย์ปัญหา โดยสามารถเร่งรัดโครงการช่วยเหลือไปยังกลุ่มที่ได้รับผลกระทบโดยตรง เช่น นโยบายคนละครึ่งเฟส 4 เนื่องจากเงินอุดหนุนในโครงการนี้ นอกจากเป็นการช่วยภาระค่าใช้จ่ายภาคประชาชนแล้ว ยังสามารถส่งผ่านไปยังผู้ประกอบการได้โดยตรง
นโยบายดูแลควบคุมราคาสินค้าวัตถุดิบให้สอดคล้องกับอุปสงค์และอุปทานของตลาด ภาครัฐอาจขอความร่วมมือผู้ประกอบการรายกลางและรายใหญ่ในการตรึงราคาชั่วคราว เนื่องจากผู้ประกอบการสองกลุ่มดังกล่าวมีฐานรายได้ที่สูงจึงยังสร้างกำไรสุทธิที่เพียงพอสำหรับกิจการ รวมถึงรัฐควรมีนโยบายเพื่อจัดการปัญหาต้นทุนแพงเพื่อรองรับสถานการณ์หลังเม็ดเงินจากนโยบายช่วยเหลือหมดลง เช่น การตรึงราคาวัตถุดิบอื่นที่ไม่มีปัญหาเรื่องอุปทานสินค้า เช่น ข้าวสาร ไข่ไก่ หรือ เครื่องปรุงแต่งอาหาร นอกจากนี้ การรณรงค์การบริโภคกลุ่มเนื้อสัตว์ที่มีระยะเลี้ยงสั้น เพื่อเป็นสินค้าทดแทนในช่วงการขึ้นของราคาวัตถุดิบ
การบริหารจัดการค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล ผู้บริโภคควรเริ่มจัดการบริหารค่าใช้จ่ายให้มากขึ้น เช่น ครอบครัวใหญ่อาจเริ่มหันมาประกอบอาหารเองเพื่อลดต้นทุน รวมถึง เลือกใช้วัตถุดิบทดแทนที่ราคายังไม่ปรับตัวสูง เพื่อเป็นการลดรายจ่าย ส่วนผู้ประกอบการสามารถปรับลดสัดส่วนวัตถุดิบราคาแพง แล้วหันไปใช้วัตถุดิบทดแทนเพิ่มขึ้น เพื่อลดต้นทุนเฉลี่ย ซึ่งหากมีการเลือกใช้วัตถุดิบทดแทน อาจทำให้สินค้าที่ปรับราคาสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในขณะนี้ มีแนวโน้มปรับขึ้นช้าลงหรืออาจปรับลดในระยะเวลาอันใกล้นี้ที่สั้นลง