• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

NT ซื้อซองประมูลดาวเทียมในวันสุดท้าย/แค่คู่เทียบหรือหวังประมูลจริง

Started by dsmol19, August 09, 2021, 02:51:09 PM

Previous topic - Next topic

dsmol19



จากมติคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) เมื่อวันที่ 7 ก.ค.2564 ได้กำหนดการใหม่สำหรับการประมูลการอนุญาตให้ใช้สิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมในลักษณะจัดชุด (Package)

หลังจาก สำนักงาน กสทช.ได้เปิดให้ผู้สนใจเข้ามายื่นเอกสารหลักฐานเพื่อเข้าร่วมการคัดเลือกฯ ในวันที่ 5 ก.ค.2564 มี บริษัท ทีซี สเปซ คอนเน็ค จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) หรือ THCOM ถือหุ้น 100% เข้ามายื่นเอกสารเข้าร่วมการคัดเลือกเพียงรายเดียว

ทำให้หลังจากนั้นสำนักงาน กสทช.จึงเปิดให้ผู้สนใจรับเอกสารการคัดเลือกเพิ่มเติม ตั้งแต่วันที่ 8 ก.ค.-6 ส.ค.2564 ผลปรากฏว่า มีบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) หรือ NT เข้ามารับเอกสารการคัดเลือกเพิ่มเติม ในวันที่ 6 ส.ค.2564 เวลา 16.20 น.ซึ่งเป็นวันสุดท้ายที่เปิดให้ผู้ที่สนใจขอรับเอกสารการคัดเพิ่มเติม อีกเพียงรายเดียวเท่านั้น
ทั้งนี้ในขั้นตอนต่อไป จะมีการจัดการประชุมสัมมนาเพื่อชี้แจงกระบวนการประมูลและกรอกแบบคำขอรับอนุญาต(public information session) วันนี้ (9 ส.ค.2564) จากนั้นผู้ประสงค์ขอรับอนุญาตยื่นคำขอรับอนุญาตและวางหลักประกันการขอรับอนุญาต วันที่ 11 ส.ค.2564 โดยในขั้นตอนนี้ บริษัท มิวสเปซ แอนด์ แอดวานซ์ เทคโนโลยี จำกัดสามารถเข้ามายื่นขอรับใบอนุญาตฯ ได้ หลังจากมาขอรับเอกสารการคัดเลือกในรอบแรก และต้องรอดูว่า NT จะเข้ามายื่นขอรับใบอนุญาตฯ หรือไม่ ก่อนที่ประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านคุณสมบัติเป็นผู้เข้าร่วมการคัดเลือก วันที่ 18 ส.ค.2564
จากนั้นประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมการคัดเลือกที่ผ่านเกณฑ์ข้อเสนอด้านประสบการณ์และความสามารถด้านการเงินเพื่อเป็นผู้เข้าร่วมการประมูล วันที่ 24 ส.ค.2564, จัดการประชุมสัมมนาเพื่อชี้แจงขั้นตอนการประมูล (bidder information session) และการประมูลรอบสาธิต (mock auction) วันที่ 25 ส.ค.2564 และประมูล วันที่ 28 ส.ค.2564

สำหรับชุดข่ายงานดาวเทียมทั้ง 4 ชุด ที่จะนำมาประมูลในครั้งนี้ ได้แก่ ชุดที่ 1 ประกอบด้วย วงโคจร 50.5E (ข่ายงานC1, N1 และ P1R) และ วงโคจร 51E (ข่ายงาน 51) ราคาขั้นต่ำ 676.914 ล้านบาท, ชุดที่ 2 ประกอบด้วย วงโคจร 78.5E (ข่ายงาน A2B และ 78.5E) ราคาขั้นต่ำ 366.488 ล้านบาท

ชุดที่ 3 ประกอบด้วย วงโคจร 119.5E (ข่ายงาน IP1, P3 และ 119.5E) และ วงโคจร 120E (ข่ายงาน 120E) ราคาขั้นต่ำ392.950 ล้านบาท และชุดที่ 4 ประกอบด้วย วงโคจร 126E (ข่ายงาน 126E) และ วงโคจร 142E (ข่ายงาน G3K และN5) ราคาขั้นต่ำ 364.687 ล้านบาท

อย่างไรก็ตาม แหล่งข่าวจาก กสทช.ยืนยันว่า แม้ว่าในวันที่ 11 ส.ค. 2564 จะไม่มีใครมายื่นเอกสารประมูลดาวเทียมเพิ่มเติม ซึ่งจะทำให้มีเพียงไทยคมรายเดียวที่ได้ยื่นประมูลก่อนหน้านี้ กสทช.ก็ต้องเดินหน้าประมูลในวันที่ 28 ส.ค.2564 โดยยึดมาตรฐานเหมือนการประมูลคลื่นโทรคมนาคมที่มีการขยายเวลาและเดินหน้าประมูลต่อ

อีกทั้ง กสทช.มีหน้าที่ ต้องรักษาวงโคจรของประเทศซึ่งวงโคจรต้องมีดาวเทียมใช้งาน หากประเทศไทยถูก ITU ตรวจสอบแล้วพบว่าไม่ได้มีการใช้สิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมที่ได้รับจริงภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ หรือไม่ได้ใช้งานอย่างต่อเนื่อง (ไม่มีการใช้คลื่นความถี่บนดาวเทียมจริง) ย่อมมีโอกาสเกิดความเสี่ยงที่ประเทศไทยจะถูกยกเลิกสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมและคลื่นความถี่ที่ไม่มีการใช้งานจริง ออกจากทะเบียนความถี่หลักระหว่างประเทศได้ (Master International Frequency Register) และส่งผลให้ประเทศไทยสิ้นสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมนั้น
จากมติคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) เมื่อวันที่ 7 ก.ค.2564 ได้กำหนดการใหม่สำหรับการประมูลการอนุญาตให้ใช้สิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมในลักษณะจัดชุด (Package)

หลังจาก สำนักงาน กสทช.ได้เปิดให้ผู้สนใจเข้ามายื่นเอกสารหลักฐานเพื่อเข้าร่วมการคัดเลือกฯ ในวันที่ 5 ก.ค.2564 มี บริษัท ทีซี สเปซ คอนเน็ค จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) หรือ THCOM ถือหุ้น 100% เข้ามายื่นเอกสารเข้าร่วมการคัดเลือกเพียงรายเดียว


ทำให้หลังจากนั้นสำนักงาน กสทช.จึงเปิดให้ผู้สนใจรับเอกสารการคัดเลือกเพิ่มเติม ตั้งแต่วันที่ 8 ก.ค.-6 ส.ค.2564 ผลปรากฏว่า มีบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) หรือ NT เข้ามารับเอกสารการคัดเลือกเพิ่มเติม ในวันที่ 6 ส.ค.2564 เวลา 16.20 น.ซึ่งเป็นวันสุดท้ายที่เปิดให้ผู้ที่สนใจขอรับเอกสารการคัดเพิ่มเติม อีกเพียงรายเดียวเท่านั้น

ทั้งนี้ในขั้นตอนต่อไป จะมีการจัดการประชุมสัมมนาเพื่อชี้แจงกระบวนการประมูลและกรอกแบบคำขอรับอนุญาต(public information session) วันนี้ (9 ส.ค.2564) จากนั้นผู้ประสงค์ขอรับอนุญาตยื่นคำขอรับอนุญาตและวางหลักประกันการขอรับอนุญาต วันที่ 11 ส.ค.2564 โดยในขั้นตอนนี้ บริษัท มิวสเปซ แอนด์ แอดวานซ์ เทคโนโลยี จำกัดสามารถเข้ามายื่นขอรับใบอนุญาตฯ ได้ หลังจากมาขอรับเอกสารการคัดเลือกในรอบแรก และต้องรอดูว่า NT จะเข้ามายื่นขอรับใบอนุญาตฯ หรือไม่ ก่อนที่ประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านคุณสมบัติเป็นผู้เข้าร่วมการคัดเลือก วันที่ 18 ส.ค.2564

จากนั้นประกาศรายชื่อผู้เข้าร่วมการคัดเลือกที่ผ่านเกณฑ์ข้อเสนอด้านประสบการณ์และความสามารถด้านการเงินเพื่อเป็นผู้เข้าร่วมการประมูล วันที่ 24 ส.ค.2564, จัดการประชุมสัมมนาเพื่อชี้แจงขั้นตอนการประมูล (bidder information session) และการประมูลรอบสาธิต (mock auction) วันที่ 25 ส.ค.2564 และประมูล วันที่ 28 ส.ค.2564
สำหรับชุดข่ายงานดาวเทียมทั้ง 4 ชุด ที่จะนำมาประมูลในครั้งนี้ ได้แก่ ชุดที่ 1 ประกอบด้วย วงโคจร 50.5E (ข่ายงานC1, N1 และ P1R) และ วงโคจร 51E (ข่ายงาน 51) ราคาขั้นต่ำ 676.914 ล้านบาท, ชุดที่ 2 ประกอบด้วย วงโคจร 78.5E (ข่ายงาน A2B และ 78.5E) ราคาขั้นต่ำ 366.488 ล้านบาท
ชุดที่ 3 ประกอบด้วย วงโคจร 119.5E (ข่ายงาน IP1, P3 และ 119.5E) และ วงโคจร 120E (ข่ายงาน 120E) ราคาขั้นต่ำ392.950 ล้านบาท และชุดที่ 4 ประกอบด้วย วงโคจร 126E (ข่ายงาน 126E) และ วงโคจร 142E (ข่ายงาน G3K และN5) ราคาขั้นต่ำ 364.687 ล้านบาท

อย่างไรก็ตาม แหล่งข่าวจาก กสทช.ยืนยันว่า แม้ว่าในวันที่ 11 ส.ค. 2564 จะไม่มีใครมายื่นเอกสารประมูลดาวเทียมเพิ่มเติม ซึ่งจะทำให้มีเพียงไทยคมรายเดียวที่ได้ยื่นประมูลก่อนหน้านี้ กสทช.ก็ต้องเดินหน้าประมูลในวันที่ 28 ส.ค.2564 โดยยึดมาตรฐานเหมือนการประมูลคลื่นโทรคมนาคมที่มีการขยายเวลาและเดินหน้าประมูลต่อ

อีกทั้ง กสทช.มีหน้าที่ ต้องรักษาวงโคจรของประเทศซึ่งวงโคจรต้องมีดาวเทียมใช้งาน หากประเทศไทยถูก ITU ตรวจสอบแล้วพบว่าไม่ได้มีการใช้สิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมที่ได้รับจริงภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ หรือไม่ได้ใช้งานอย่างต่อเนื่อง (ไม่มีการใช้คลื่นความถี่บนดาวเทียมจริง) ย่อมมีโอกาสเกิดความเสี่ยงที่ประเทศไทยจะถูกยกเลิกสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมและคลื่นความถี่ที่ไม่มีการใช้งานจริง ออกจากทะเบียนความถี่หลักระหว่างประเทศได้ (Master International Frequency Register) และส่งผลให้ประเทศไทยสิ้นสิทธิในการเข้าใช้วงโคจรดาวเทียมนั้น