• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

อาคม เตรียมร่วมประชุม รมว.คลัง-ผู้ว่าการธนาคารกลางอาเซียน 7-8 เม.ย.

Started by Hanako5, April 09, 2022, 03:20:28 AM

Previous topic - Next topic

Hanako5

อาคม เตรียมร่วมประชุม รมว.คลัง-ผู้ว่าการธนาคารกลางอาเซียน 7-8 เม.ย.
 
นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า ในระหว่างวันที่ 7-8 เมษายน 2565 นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รมว.คลัง มีกำหนดเข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และผู้ว่าการธนาคารกลางอาเซียน (ASEAN Finance Ministers and Central Bank Governors? Meeting: AFMGM) ครั้งที่ 8, การประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังอาเซียน (ASEAN Finance Ministers? Meeting: AFMM) ครั้งที่ 26 และการประชุมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยมีรองนายกรัฐมนตรี และ รมว.เศรษฐกิจและการคลัง และผู้ว่าการธนาคารกลางราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นประธานร่วมของกรอบการประชุม AFMGM ประจำปี 2565 ภายใต้แนวคิดหลัก "อาเซียนร่วมจัดการความท้าทายไปด้วยกัน" (ASEAN A.C.T.: Addressing Challenge Together) ดังนี้

1. วันที่ 7 เมษายน 2565 รมว.คลัง จะเข้าร่วมการเสวนาในหัวข้อ "การเงินยั่งยืน: การระดมทรัพยากรทางการเงินเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจยุคหลังโควิด-19" โดยที่ประชุมจะได้แลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับประเด็นทางเศรษฐกิจ และแนวทางในการระดมทุนผ่านกลไกการเงินที่ยั่งยืนเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังยุคโควิด-19

2. วันที่ 8 เมษายน 2565 รมว.คลัง จะเข้าร่วมการประชุมที่สำคัญ ดังนี้

2.1 การประชุมระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้ว่าการธนาคารกลางอาเซียน กับสถาบันการเงินระหว่างประเทศ (ASEAN Finance Ministers and Central Bank Governors Special Session with International Financial Institutions) โดยที่ประชุมจะมีการหารือในประเด็นสถานการณ์เศรษฐกิจโลกและภูมิภาคอาเซียน รวมถึงแนวทางการดำเนินนโยบายทางด้านเศรษฐกิจเพื่อให้เศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียนฟื้นตัวได้อย่างเท่าเทียม ทั่วถึง และมีภูมิคุ้มกัน

ทั้งนี้ ผู้แทนจากสถาบันการเงินระหว่างประเทศที่จะเข้าร่วมการประชุม ประกอบด้วย (1) ธนาคารเพื่อการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานเอเชีย (Asian Infrastructure Investment Bank: AIIB) (2) ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank: ADB) (3) สำนักงานวิจัยเศรษฐกิจมหภาคของภูมิภาคอาเซียน+3 (ASEAN+3 Macroeconomic Research Office: AMRO) (4) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) และ (5) ธนาคารโลก (World Bank)

2.2 การประชุม AFMM ครั้งที่ 26 ที่ประชุมจะมีการหารือร่วมกันในประเด็นเศรษฐกิจที่สำคัญ เช่น สถานการณ์เศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียน ข้อริเริ่มด้านโครงสร้างพื้นฐานและการเชื่อมโยงของอาเซียน เป็นต้น และติดตามความคืบหน้าของหน่วยงานกำกับดูแลตลาดทุนอาเซียน (ASEAN Capital Market Forum: ACMF)

รวมทั้งพิจารณาให้การรับรองประเด็นสำคัญภายใต้ความร่วมมือทางด้านการเงินอาเซียน (ASEAN Financial Cooperation) ได้แก่ (1) การจัดหาเงินทุนเพื่อโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure Finance) (2) ความร่วมมือด้านการประกันภัย (Cooperation in Insurance Matters) (3) โครงการการบริหารการเงินและการประกันภัยด้านภัยพิบัติสำหรับประเทศสมาชิกอาเซียน (ASEAN Disaster Risk Financing and Insurance: ADRFI) (4) ความร่วมมือด้านศุลกากรในอาเซียน (ASEAN Cooperation in Customs) (5) การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย (Anti-Money Laundering and Counter Terrorist Financing: AML/CFT) และ (6) การดำเนินงานของคณะทำงานด้านภาษีของอาเซียน (ASEAN Forum on Taxation)

2.3 การประชุม AFMGM ครั้งที่ 8 ซึ่งจะเป็นการประชุมร่วมกันระหว่างรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและผู้ว่าการธนาคารกลางอาเซียน โดยในช่วงแรก ที่ประชุมจะได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและรับฟังข้อเสนอแนะเชิงนโยบายกับผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน ประกอบด้วย (1) สภาที่ปรึกษาธุรกิจอาเซียน (2) สภาที่ปรึกษาธุรกิจสหภาพยุโรป-อาเซียน และ (3) สภาที่ปรึกษาธุรกิจสหรัฐอเมริกา-อาเซียน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการยกระดับด้านการเงินที่ยั่งยืน และการพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อส่งเสริมด้านการค้าและการทำธุรกรรมการเงินระหว่างประเทศ

และในช่วงที่สอง ที่ประชุมจะได้มีการหารือและติดตามความคืบหน้าในการดำเนินการตามแผนงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ค.ศ. 2025 (ASEAN Economic Community (AEC) Blueprint 2025) รวมทั้งความคืบหน้าของความร่วมมือภายใต้กรอบการประชุม AFMGM ได้แก่ (1) แผนงานการบูรณาการทางการเงินของอาเซียน (Roadmap for Monetary and Financial Integration of ASEAN : RIA-Fin) รวมถึงประเด็นที่จะให้ที่ประชุมรับรอง และ (2) ความร่วมมือด้านการเงินยั่งยืนของอาเซียน (ASEAN Sustainable Finance Cooperation)

โฆษกกระทรวงการคลัง กล่าวว่า รมว.คลัง จะได้หารือและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นในด้านการดำเนินนโยบายด้านเศรษฐกิจและการมุ่งไปสู่การพัฒนาด้านการเงินที่ยั่งยืน (Sustainable Finance) ซึ่งเป็นประเด็นที่ไทยได้ให้ความสำคัญ และผลักดันเป็นแนวคิดหลักภายใต้กรอบการประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเอเปคที่ประเทศไทย โดยกระทรวงการคลัง เป็นเจ้าภาพในปี 2565

นอกจากนี้ ที่ประชุมจะได้หารือในประเด็นด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัล บริการด้านการเงินระหว่างประเทศ และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งจะช่วยเพิ่มการอำนวยความสะดวกทั้งในด้านระบบธุรกรรมทางการเงิน การค้า และการลงทุนระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น