• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

“ภาคอุตสาหกรรม” แนะเร่งสร้างความเชื่อมั่นการลงทุน

Started by Cindy700, August 28, 2021, 10:05:46 PM

Previous topic - Next topic

Cindy700



ที่ผ่านมาต้องยอมรับว่าการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ของประชาชนในช่วงก่อนหน้านี้ มีการกระจายไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ ส่งผลให้รัฐบาลจำเป็นที่ต้องประกาศล็อกดาวน์พื้นที่ ป้องกันการแพร่ระบาด ส่งผลให้ประชาชนลำบากในการใช้ชีวิต บริษัท ห้างร้าน โรงงาน ต้องปิดกิจการ คนงานตกงานขาดรายได้

แต่ ณ เวลานี้ ตัวเลขของผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ดูจะมีแนวโน้มลดลง ซึ่งมาจากการที่ประชาชนมีโอกาสได้รับการฉีดวัคซีนมากขึ้น เพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความมั่นใจให้กับภาคการลงทุนมากขึ้น

โดยในมุมมองตัวแทนภาคอุตสาหกรรม "นายสุพันธุ์ มงคลสุธี" ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า การะบาดของโรคเชื้อไวรัสโควิด-19 ในประเทศ กำลังเข้าสู่ขั้นวิกฤติและส่งผลกระทบไปทุกภาคส่วนของประเทศ ขณะที่ภาคอุตสาหกรรมเกิดการติดเชื้อในโรงงานเป็นจำนวนมากเช่นกัน สภาอุตสาหกรรมฯ ในฐานะองค์กรหลักภาคเอกชนที่เป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ ได้จัดทำ "มาตรการควบคุมโควิดในภาคอุตสาหกรรม" เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตและอาการรุนแรง พร้อมรักษากำลังการผลิตให้มากที่สุด ซึ่งโรงงานที่ดำเนินการอย่างถูกต้อง จะไม่ถูกปิด หากยังสามารถดำเนินการต่อได้โดยไม่แพร่กระจายเชื้อสู่ภายนอก ภายใต้คอนเซ็ปต์ "ติดโควิดไม่ต้องปิดโรงงาน" แบ่งออกเป็น 4 ข้อดังนี้

1.มาตรการ Bubble and Seal สำหรับภาคอุตสาหกรรมต้องมีความชัดเจน สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงและเป็นไปในแนวทางเดียวกันทุกพื้นที่ โดยให้สุ่มตรวจหาผู้ติดเชื้อด้วยชุดตรวจ ATK สม่ำเสมอ 10% ของจำนวนพนักงานทุก 14 วัน โดยรัฐบาลสนับสนุนค่าใช้จ่าย และให้พนักงานผู้สัมผัสเสี่ยงต่ำสามารถกลับเข้ามาทำงานใน Bubble ในโรงงานตามปกติ

2.สถานประกอบการที่มีพนักงาน 300 คนขึ้นไป เสนอให้กระทรวงสาธารณสุขสนับสนุนงบประมาณในการจัดตั้ง Factory Quarantine และ Factory Accommodation Isolation โดยให้มีจำนวนเตียงๆไม่น้อยกว่า 5% ของจำนวนพนักงาน และเสนอให้กระทรวงแรงงานจัดตั้งโรงพยาบาลแม่ข่ายในแต่ละพื้นที่ประกันสังคม เพื่อให้บริการโรงงานในพื้นที่ ณ จุดเดียว ตั้งแต่การตรวจหาเชื้อไปจนถึงส่งต่อผู้ป่วยเข้าไปในระบบการรักษา เพื่อลดขั้นตอนในการหาโรงพยาบาล

3.สำหรับสถานประกอบการที่มีพนักงานต่ำกว่า 300 คน ขอให้กระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ร่วมจัดตั้ง Community Quarantine (CQ), Community Isolation (CI) (ศูนย์พักคอยและแยกกักตัว) ให้เพียงพอกับแรงงาน โดยให้มีจำนวนเตียงไม่น้อยกว่า 5% ของจำนวนพนักงานในพื้นที่

4.จัดสรรวัคซีนตามเพื่อลดอัตราการเสียชีวิต โดยจัดสรรตามลำดับความสำคัญทางสาธารณสุข การป้องกันโรค และเศรษฐกิจใน 3 กลุ่มคือ กลุ่มผู้สัมผัสเสี่ยงสูงที่อายุ 40-59 ปี กลุ่มพนักงานในสถานประกอบการที่มีติดเชื้อมากกว่า 50% จนต้องปิดกิจการ และกลุ่มพนักงานในอุตสาหกรรมสำคัญยิ่งยวด

ขณะที่มุมมองของ "รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ" อดีตกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง นำเสนอแง่คิดที่น่าสนใจว่า รัฐบาลควรเดินหน้าคลายล็อกดาวน์ในทุกพื้นที่ในบางกิจกรรม หากตัวเลขผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นต่ำกว่าผู้ได้รับการรักษาหายป่วยมากพอ และสามารถทำให้ผู้ป่วยที่ต้องรักษาในระบบสาธารณสุขลดลงมาเหลือต่ำกว่า 100,000 ราย จากปัจจุบันอยู่ที่ 200,339 ราย

ระบบสาธารณสุข ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ควรต้องจัดการความเสี่ยงด้านอุปทานเพิ่มขึ้นโดยจัดสรรงบประมาณให้โรงพยาบาลของรัฐตามความเสี่ยงของประชากรที่ขึ้นทะเบียนกับโรงพยาบาลต่างๆ นั่นคือ ผู้ให้บริการในพื้นที่เสี่ยงสูง และต้องดูแลประชากรที่มีความเสี่ยงสูงควรจะเหมาจ่ายต่อหัวสูงกว่าผู้ให้บริการ หรือโรงพยาบาลที่ดูแลประชากรที่มีความเสี่ยงต่ำกว่า ,ไม่ควรกำหนดการเหมาจ่ายแบบคงที่ทั่วทั้งประเทศ โดยงบประมาณต้องจัดสรรไปตามภาระและแผนงานกิจกรรมที่ต้องทำ และไม่ควรรวมศูนย์การตัดสินใจเพราะจะทำให้แก้ปัญหาล่าช้า และไม่ทันการ

อย่างไรก็ตามหากมีความจำเป็นต้องขยายล็อกดาวน์ เพราะตัวเลขติดเชื้อไม่ลดลง และมีผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจต้องล็อกดาวน์ไปอีกอย่างน้อยจนถึงปลายปี ในขณะที่ประชาชนยังรอฉีดวัคซีนกันอยู่ รัฐบาลต้องเตรียมงบประมาณจ่ายเยียวยาให้ภาคธุรกิจ และประชาชนเพิ่มเติม หากต้องขยายล็อกดาวน์ และควรประกาศล่วงหน้า และเยียวยาทันทีก่อนสั่งปิดพื้นที่ หรือกิจกรรมเพื่อไม่ให้ความทุกข์ยากทางเศรษฐกิจรุนแรงไปกว่าระดับวิกฤติในขณะนี้ และควรเตรียมเงินงบประมาณไม่ต่ำกว่าอีก 300,000 ล้านบาท หากต้องล็อกดาวน์ถึงปลายปี

การรับฟังข้อเสนอในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในเวลานี้ จากผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรง เป็นเรื่องที่ไม่เสียหายอะไร!!!