• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

“การเคหะแห่งชาติ”ผนึกภาคีสำคัญ เดินหน้าเสริมแกร่งโครงการ SSC

Started by deam205, September 06, 2021, 08:50:47 AM

Previous topic - Next topic

deam205



นายทวีพงษ์ วิชัยดิษฐ ผู้ว่าการการเคหะแห่งชาติ กล่าวถึงความคืบหน้าของโครงการชุมชนอัจฉริยะและน่าอยู่อย่างยั่งยืนเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (Smart and Sustainable Community for .ter Well - being : SSC) ว่า การเคหะแห่งชาติได้ดำเนินการเกี่ยวกับ "SSC" มาตั้งแต่ปี 2560 โดยได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และบริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน) ในการนำองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาร่วมสนับสนุนการดำเนินโครงการ "SSC" ในมิติ ที่แตกต่างกัน จนสามารถเดินหน้าโครงการนำร่องที่โครงการบ้านเอื้ออาทรบางโฉลง (นิติ 1) ได้อย่างเป็นรูปธรรม และเป็นแนวทางสำคัญของโครงการบ้านเคหะสุขประชา "บ้านเช่าพร้อมอาชีพ" ที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยการเคหะแห่งชาติกำลังดำเนินการอยู่ในขณะนี้ ตามนโยบายของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และนายจุติ ไกรฤกษ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

นายทวีพงษ์ กล่าวอีกว่า แนวคิดในการขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Community)ของการเคหะแห่งชาติได้ดำเนินงานร่วมกับภาคีสำคัญข้างต้นครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1 การมีส่วนร่วมและความรับผิดชอบ มีการเปิดโอกาสให้มีการแสดงความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน ให้โอกาสในการตัดสินใจเกี่ยวกับความเป็นอยู่ของตนเอง และการเข้าถึงข้อมูลสาธารณะ มิติที่ 2 ความมั่นคงของระบบนิเวศ มุ่งดำเนินการใน 5 ด้าน คือ คุณภาพอากาศ น้ำ และพลังงาน การบริหารจัดการขยะ การจัดการน้ำเสีย และการจัดการพื้นที่สีเขียว เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับผู้อยู่อาศัยในชุมชน ขณะที่มิติที่ 3 ความมั่นคงทางเศรษฐกิจได้ดำเนินการให้ความรู้ เพื่อสร้างอาชีพให้กับชุมชนในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นที่เพื่อสร้างรายได้ รวมถึงประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ สร้างความตระหนัก และพัฒนาชุมชนให้สามารถประหยัดค่าไฟในครัวเรือน ส่วนมิติที่ 4 สุขภาวะทางสังคม มีการดำเนินการด้านสุขภาพที่เพียงพอให้กับชุมชน ให้ชุมชนมีความปลอดภัยและมีสุขภาวะที่ดี มีสิ่งแวดล้อมที่เป็นมิตร ต่อสุขภาพ รวมถึงความสามารถในการปรับตัวในสภาวะต่างๆ

ทั้งนี้ ตัวอย่างสำคัญของการดำเนินการ ได้แก่ "Sensor for All" ร่วมกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้อาศัยในชุมชน สามารถติดตามและป้องกันตนเองจากฝุ่นควันและมลพิษ ทางอากาศที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ปัจจุบันการเคหะแห่งชาติได้ติดตั้งเครื่องเซนเซอร์ตรวจวัดฝุ่นและคุณภาพอากาศแล้ว จำนวน 32 เครื่อง ที่บริเวณสำนักงานใหญ่การเคหะแห่งชาติ จำนวน 2 เครื่อง และติดตั้งบริเวณสำนักงานเคหะนครหลวงและสำนักงานเคหะจังหวัดในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล 10 พื้นที่ จำนวน 30 เครื่อง ได้แก่ ร่มเกล้า, หนองจอก, รามคำแหง, นวมินทร์, ออเงิน, บ่อนไก่ นนทบุรี, ปทุมธานี, นครปฐม และสมุทรปราการ

นอกจากนี้ ยังมีการดำเนินการด้านจัดการน้ำเสีย การทดลองปรับพื้นที่เพื่อการใช้ประโยชน์และเพิ่มพื้นที่สีเขียว การส่งเสริมโมเดลการจัดขยะ 3 ประเภท คือ ขยะรีไซเคิล ขยะอาหาร ขยะอันตราย และการทำถังหมักรักษ์โลก (Green Cone) รวมถึงยังมีแนวทางด้านการจัดการพลังงานด้วยการการติดตั้ง Smart Meter (เครื่องมือวัดพลังงานแบบไร้สาย) เพื่อวัดการใช้พลังงานของแต่ละอาคาร โดยแสดงผลการใช้พลังงานผ่านการแสดงผลในรูปแบบ Dashboard ซึ่งทำให้ผู้พักอาศัยภายในโครงการรับรู้ข้อมูล การใช้พลังงานของตน และเกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันลดการใช้พลังงานผ่านการจัดกิจกรรมต่างๆ และยังอยู่ระหว่างวางแผนติดตั้ง Solar Powered Pump โดยนำพลังงานไฟฟ้าที่ได้มาใช้ในการสูบน้ำเข้าถังเก็บน้ำ และกรณีที่ไม่มีการทำงานของปั๊มน้ำ พลังงานไฟฟ้าที่ได้จะถูกส่งไปที่ตัวอาคารเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ภายในอาคารต่อไป รวมถึงอยู่ในระหว่างวางแผนจะติดตั้ง Solar Powered Aerator เพื่อเติมอากาศบำบัดบ่อนํ้าเสีย อีกทั้งเมื่อช่วงเดือนพฤษภาคม 2564 ที่ผ่านมานี้ การเคหะแห่งชาติ และหน่วยงานภาคีเครือข่ายได้ร่วมกันจัดงานเสวนาออนไลน์ขึ้น ในหัวข้อ "การพัฒนาความยั่งยืนให้ชุมชน" พร้อมทั้งนำออกเผยแพร่ในรูปแบบนิทรรศการออนไลน์ ซึ่งก็มีทั้งเนื้อหาวิชาการ และสื่อมัลติมีเดียหลายรูปแบบ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงและเข้าใจแนวคิด SSC มากยิ่งขึ้นอีกด้วย นอกจากนี้ ยังมีแผนที่จะดำเนินการขยายผลต่อเนื่อง ในปี 2565 อีก 4 ชุมชน ได้แก่ โครงการบ้านเอื้ออาทรบางบัวทอง 2 บ้านเอื้ออาทรรังสิตคลอง 10/2 บ้านเอื้ออาทรราชบุรี 3/2 และบ้านเอื้ออาทรเศรษฐกิจ 3

"การเคหะแห่งชาติมุ่งมั่นที่จะร่วมมือกับภาคีสำคัญในการผลักดันนำพาทุกชุมชนของการเคหะ ก้าวไปสู่ Smart and Sustainable Lottovip Community โดยการบูรณาการด้วยหลัก 3P ได้แก่ Profit ผลกำไร, People คุณภาพชีวิตของประชาชน และ Planet สิ่งแวดล้อม โดยเน้นความสำคัญของการมีส่วนร่วมจากผู้อยู่อาศัยเป็นประเด็นหลัก เพราะท้ายที่สุดแล้วการพัฒนาทุกอย่างก็เพื่อประโยชน์และความสุขอย่างยั่งยืนของพี่น้องประชาชนผู้อยู่ในอาศัยในชุมชนของการเคหะแห่งชาตินั่นเอง" ผู้ว่าการการเคหะแห่งชาติกล่าว

ด้าน นายวิชัย คำบุญเรือง ผู้นำชุมชนโครงการบ้านเอื้ออาทร บางโฉลง นิติ 1 กล่าวว่า การดำเนินการเกี่ยวกับ SSC ที่บางโฉลงในช่วงแรกได้รับความร่วมมือจากกลุ่มเล็กๆ ในชุมชน ต่อมาการเคหะแห่งชาติ และหน่วยงานภาคี เข้ามาสนับสนุนเพิ่มเติมทำให้สามารถขยายกิจกรรมมากขึ้น เมื่อเกิดตัวอย่างที่สร้างประโยชน์ได้จริงอย่างเป็นรูปธรรม ความร่วมมือจากสมาชิกผู้อยู่อาศัยในชุมชนก็เพิ่มมากขึ้น โดยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนโดยใช้พลังกลุ่มเยาวชนซึ่งมุ่งเน้นการสร้างการมีส่วนร่วม

"สิ่งสำคัญอย่างมากคือกลุ่มผู้นำชุมชน ต้องตั้งใจ ทำให้เห็นเป็นตัวอย่างเชิงประจักษ์ เมื่อเราจับมือร่วมกันทำสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อทั้งตนเองและส่วนรวมไปด้วยกัน พลังจากความตั้งใจและการลงมือทำนี้ จะทำให้มีแนวร่วม แล้วในที่สุดการพัฒนาและความสุขที่ยั่งยืนก็จะเกิดขึ้นในชุมชนของเราครับ" นายวิชัยกล่าว