• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ufa

ufabet

ปูนปั้น

สล็อตเว็บตรง

สล็อตเว็บตรง

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

pgslot

PG SLOT

PG SLOT

pg slot

PG SLOTเว็บตรง

PG SLOT เว็บตรง

pg slot

บาคาร่า

PG SLOT

pg slot

PG SLOT

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อต

บาคาร่า168

PG SLOT

สล็อตเว็บตรง

pg slot

สล็อตเว็บตรง

เว็บสล็อตใหม่ล่าสุด

สล็อต pg เว็บตรง แตกหนัก

ส.ธนาคารไทย ยกระดับแผน BCP แนะลูกค้าทำธุรกรรมผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์

Started by Naprapats, July 29, 2021, 01:58:54 PM

Previous topic - Next topic

Naprapats




นายผยง ศรีวณิช ประธานสมาคมธนาคารไทย เปิดเผยว่า ตั้งแต่เกิดวิกฤตโควิด-19 ธนาคารสมาชิกได้ให้ความช่วยเหลือลูกค้าทุกกลุ่มอย่างต่อเนื่อง ตามมาตรการปรับโครงสร้างหนี้ธนาคารแห่งประเทศไทย โดยในเดือนก.ค. 63 มีลูกค้าขอรับความช่วยเหลือสูงสุดจำนวน 6 ล้านบัญชี วงเงินความช่วยเหลือรวม 4.25 ล้านล้านบาท เป็นวงเงินสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ 8 แสนล้านบาท ลูกค้า SME 1.8 ล้านล้านบาท และลูกค้ารายย่อย 1.6 ล้านล้านบาท

ที่ผ่านมา มีลูกค้าบางส่วนได้ออกจากมาตรการเนื่องจากกลับมาชำระหนี้ได้ในช่วงที่สถานการณ์ดีขึ้น ล่าสุด ยังมีลูกค้าอยู่ภายใต้การให้ความช่วยเหลือรวม 1.89 ล้านบัญชี คิดเป็นวงเงินช่วยเหลือกว่า 2 ล้านล้านบาท แบ่งเป็นวงเงินสินเชื่อลูกค้าธุรกิจขนาดใหญ่ 5.6 แสนล้านบาท ลูกค้า SME 8.2 แสนล้านบาท และลูกค้ารายย่อย 6.2 แสนล้านบาท

สำหรับมาตรการเสริมสภาพคล่อง เพื่อประคับประคองธุรกิจตามมาตรการช่วยเหลือของธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ธนาคารสมาชิกได้อนุมัติวงเงินสินเชื่อเสริมสภาพคล่องกว่า 2.16 แสนล้านบาท แบ่งเป็นวงเงินสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ (Soft Loan) ประมาณ 1.38 แสนล้านบาท และวงเงินสินเชื่อฟื้นฟูธุรกิจที่อนุมัติไปแล้วกว่า 7.8 หมื่นล้านบาท โดยตั้งเป้าหมาย 1 แสนล้านบาทในเดือนตุลาคมนี้

อย่างไรก็ตาม ทุกธนาคารยังคงเดินหน้าช่วยเหลือลูกค้าอย่างเต็มที่ โดยจะทยอยพิจารณาให้การช่วยเหลือผ่านวงเงินดังกล่าวอย่างต่อเนื่องต่อไป

ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) และสมาคมธนาคารไทย ได้หารือกันอย่างใกล้ชิด เพื่อประเมินผลกระทบต่อลูกค้าทุกกลุ่ม โดยพร้อมมีมาตรการช่วยเหลือลูกค้าเพิ่มเติม หากสถานการณ์ยืดเยื้อกว่าที่ประเมินไว้ อย่างไรก็ตาม ภาคธนาคารได้ออกมาตรการช่วยเหลือลูกค้าทุกกลุ่มอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่เกิดการระบาดของโควิด-19 เมื่อต้นปี 63

โดยในช่วงแรกออกมาตรการช่วยเหลือเป็นการทั่วไป เป็นมาตรการเร่งด่วน ทั้งการพักชำระเงินต้น ดอกเบี้ย และขยายระยะเวลาชำระหนี้ เพื่อลดภาระทางการเงินให้กับลูกค้า เสริมสภาพคล่องด้วยสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ (Soft Loan) หลังจากนั้นได้ออกมาตรการช่วยเหลือเฉพาะกลุ่ม เพื่อช่วยเหลือลูกค้าให้ตรงจุด เช่น มาตรการปรับโครงสร้างหนี้ และเมื่อมีการระบาดระลอกใหม่ทำให้เศรษฐกิจต้องใช้เวลานานขึ้นในการฟื้นตัว จึงมีมาตรการฟื้นฟูธุรกิจเพิ่มเติม ประกอบด้วย สินเชื่อฟื้นฟูธุรกิจ วงเงิน 2.5 แสนล้านบาท และมาตรการพักทรัพย์พักหนี้ วงเงิน 1 แสนล้านบาท พร้อมออกมาตรการช่วยเหลือลูกค้ารายย่อย ระยะที่ 3 และล่าสุดได้ออกมาตรการเร่งด่วนด้วยการพักชำระเงินต้น และดอกเบี้ยให้แก่ลูกค้า SMEs และลูกค้ารายย่อยที่ได้รับผลกระทบโดยตรง เป็นระยะเวลา 2 เดือน ทั้งที่เป็นนายจ้างและลูกจ้างในสถานประกอบการ ในพื้นที่ควบคุมฯ และนอกพื้นที่ควบคุมฯ ที่ต้องปิดกิจการจากมาตรการของทางการ

"ธนาคารสมาชิกได้บริหารจัดการธุรกิจด้วยความระมัดระวัง เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับความไม่แน่นอนของสถานการณ์โควิด-19 และการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ แม้ว่าภาพรวมผลการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ในช่วงครึ่งปี 64 แสดงผลการดำเนินงานที่ยังเติบโตต่อเนื่อง แต่บางส่วนเป็นการบันทึกรายได้ดอกเบี้ยค้างรับของมาตรการช่วยเหลือลูกค้า ซึ่งยังไม่ได้มีการชำระจริงและยังอาจกลายเป็นหนี้เสียได้ อย่างไรก็ตาม ภาพรวม NPL ในระบบแทบจะไม่เพิ่มขึ้นเลย สะท้อนถึงการให้ความช่วยเหลือได้ทันการณ์ ซึ่งนอกจากการให้สินเชื่อผ่าน Soft Loan และสินเชื่อฟื้นฟูแล้ว ธนาคารพาณิชย์ยังปล่อยสินเชื่อให้กับลูกหนี้ตามวงเงินที่มีอยู่เดิมเพิ่มขึ้น และยังคงให้ความสำคัญกับการกันสำรองอย่างเข้มงวดต่อไป เพื่อรองรับความไม่แน่นอนในอนาคต และต้องไม่เกิดผลกระทบกับเสถียรภาพและระบบสถาบันการเงินของประเทศ"นายผยง กล่าว

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด- 19 ระลอกใหม่ที่รุนแรงขึ้น สมาคมธนาคารไทยและธนาคารสมาชิกยังได้ยกระดับแผน Business Continuity Planning (BCP) เพื่อความต่อเนื่องในการให้บริการ โดยคำนึงความปลอดภัยของลูกค้าและพนักงานเป็นสำคัญ ทั้งนี้ แผน BCP ครอบคลุมทั้งการปฎิบัติตามมาตรการของทางการ ระบบการให้บริการ การจัดสรรพนักงาน และการสำรองเงินสดให้เพียงพอ อย่างไรก็ตาม แนะนำให้ลูกค้าทำธุรกรรมการเงินผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้ง Mobile Application Internet Banking และ ตู้ ATM ซึ่งสามารถทำธุรกรรมได้หลากหลาย ทั้งฝาก-ถอนเงินสด โอนเงิน จ่ายบิล การยืนยันตัวตน รวมถึงบริการผูกบัญชีพร้อมเพย์ โดยไม่ต้องเดินทางมาที่สาขา เพื่อความสะดวก และลดความเสี่ยง

ทั้งนี้ได้ติดตามสถานการณ์และประเมินผลกระทบอย่างใกล้ชิด ได้มีการปฏิบัติงานจากที่บ้าน หรือ Work From Home ขั้นสูงสุด ส่วนพนักงานที่ต้องปฏิบัติงานในสาขา ซึ่งถือว่าเป็นบุคลากรด่านหน้าและเป็นกลุ่มเสี่ยง ธนาคารสมาชิกก็พยายามเร่งจัดหาวัคซีนและกระจายฉีดวัคซีนให้เร็วที่สุด พร้อมจัดการระบบให้บริการที่สาขาให้เป็นไปตามมาตรการด้านสาธารณสุข

นอกจากมาตรการช่วยเหลือลูกค้าแล้ว สมาคมธนาคารไทย และธนาคารสมาชิก ยังสนับสนุนการทำงานของทีมแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ในการป้องกันและรักษาผู้ติดเชื้อในปี 63 โดยบริจาคให้แก่ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลราชวิถี สถาบันบำราศนราดูร และสภากาชาดไทย จำนวนเงิน 50 ล้านบาท

สำหรับในปี 2564 ธนาคารสมาชิกยังคงสนับสนุนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ผ่านการสนับสนุนทุนทรัพย์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ และอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ขณะเดียวกัน ยังเป็นกำลังสำคัญร่วมกับภาคีเครือข่าย สนับสนุน โครงการ "ไทยร่วมใจ กรุงเทพฯ ปลอดภัย" ซึ่งเป็นการผนึกความร่วมมือครั้งสำคัญระหว่างภาครัฐและเครือข่ายภาคีเอกชน ในการเร่งกระจายวัคซีนให้กับประชาชน โดยสนับสนุนศูนย์ฉีดวัคซีนนอกโรงพยาบาลในโครงการไทยร่วมใจฯ 25 แห่ง ศูนย์ฉีดวัคซีนสำนักงานประกันสังคมเพื่อผู้ประกันตน ม.33 อีก 69 แห่ง รวมถึงจุดบริการฉีดวัคซีนของราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ทั่วกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงสูงสุด โดยธนาคารสมาชิกได้ให้การสนับสนุนทั้งด้านสถานที่ บุคลากร และจัดซื้ออุปกรณ์เครื่องมือในการดำเนินงานอีกด้วย